Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมประสงค์ เอ็มดู รหัส 6006510077 (:black_flag:พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ…
สมประสงค์ เอ็มดู รหัส 6006510077
:black_flag:ไวรัสคอมพิวเตอร์
ความหมายของไวรัสคอม
พิวเตอร์ :red_flag:
ไวรัสคอมพิวเตอร์ คือโปรแกรมชนิด
หนึ่งซึ่งถูกเขียนขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายที่
สร้างผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ ให้กับ
ระบบคอมพิวเตอร์ที่เรียกใช้งาน
โปรแกรมนี้ ซึ่งจะสร้างความเสียหายให้
กับระบบในรูปแบบต่างๆ
ช่องทางในการแพร่กระจายของ
ไวรัสคอมพิวเตอร์ :red_flag:
หน่วยความจำสำรอง โดยผ่านการใช้
งานจาก Handy Drive หรือ Flash Drive , แผ่น
ฟลอปปีดิสก์, ม้วนเทป, แผ่นซีดี ที่มี
โปรแกรมไวรัสอยู่
ระบบเครือข่าย โดยการรับหรือคัดลอก
แฟ้มผ่านระบบเครือข่าย รวมทั้งการรับ
จดหมายอีเมล์ที่มีแฟ้มไวรัสแนบมาด้วย
ประเภทของไวรัสคอม
พิวเตอร์ :red_flag:
บูตเซกเตอร์ไวรัส เป็นไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่
ในบูตเซกเตอร์ของดิสก์ และจะฝังตัวเข้าแทน
ที่ระบบปฏิบัติการ
ไฟล์ไวรัส เป็นไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่ในแฟ้ม
ข้อมูล ได้แก่ไฟล์ประเภท .EXE .COM .DLL
เป็นต้น
หนอนคอมพิวเตอร์ เป็นไวรัสที่ทำงานอยู่บน
หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์และจะทำการ
สร้างตัวเองส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง
อื่นๆที่เชื่อมต่อกันอยู่บนระบบเครือข่าย
มาโครไวรัส ไวรัสที่เขียนด้วยภาษามา
โครของซอฟต์แวร์ประยุกต์ตัวใดตัวหนึ่ง
และจะแทรกตัวเองอยู่ในแฟ้มข้อมูลของ
ซอฟต์แวร์ตัวนั้น
ม้าโทรจัน เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้น
มา ให้ทำตัวเหมือนว่าเป็นโปรแกรม
ธรรมดาทั่วๆ ไป แต่เมื่อถูกเรียกขึ้นมา
แล้ว ก็จะเริ่มทำลายตามที่โปรแกรมได้
วิธีการป้องกันไวรัสคอม
พิวเตอร์ :red_flag:
ให้ทำการสำรองข้อมูล ที่สำคัญไว้
ติดตั้งโปรแกรมกำจัดไวรัส และตรวจ
สอบเป็นประจำ
ปรับปรุง หรืออัปเดทโปรแกรมกำจัด
ไวรัส
ตรวจสอบแผ่นดิสก์จากการใช้งาน
ร่วมกับผู้อื่น
สังเกตความผิดปกติที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
การแก้ปัญหาเมื่อเครื่อง
คอมพิวเตอร์มีไวรัส :red_flag:
หาโปรแกรมที่สามารถตรวจสอบ และกำจัดไวรัสได้
ตรวจสอบโดยการสแกนไวรัสจากอุปกรณ์สำรองข้อมูล
ทุกครั้งก่อนใช้งาน
เช่น แผ่น Floppy Disk, Flash Drive, แผ่น CD เป็นต้น
ปิดเครื่อง เมื่อพบไวรัสในเครื่องคอมพิวเตอร์และให้ทำ
การบันทึกข้อมูลที่กำลังทำงานอยู่ แล้วออกจากระบบ
งาน เพราะไวรัสจะแพร่กระจายเข้าสู่หน่วยความจำและ
โปรแกรมต่างๆได้
ทำการถ่ายเทข้อมูล หรือกู้ข้อมูลเท่าที่จะกู้ได้
:black_flag:การสื่อสารข้อมูล
และระบบเครือ
ข่าย
ชนิดของสัญญาณ
และทิศทาง :red_flag:
การสื่อสารแบบสองทางครึ่งอัตราข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองทิศทาง แต่จะต้องผลัดกันส่งครั้งลทิศทางเดียวเท่านั้นนั่นคือ ผู้ส่งและผู้รับสามารถทำหน้าที่ได้ทั้งส่งและรับข้อมูล แต่
ไม่สามารถทำได้ในเวลาเดียวกัน
การสื่อสารแบบสองทางเต็มอัตรา
ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองทิศทางพร้อมกัน โดย
ผู้ส่งและผู้รับสามารถทำหน้าที่ทั้งส่งและรับข้อมูลพร้อมกัน เช่น
โทรศัพท์, การ Upload
การสื่อสารแบบทางเดียว
-ข้อมูลจะถูกส่งไปในทิศทางเดียว
เท่านั้นโดยผู้ส่งจะสามารถส่งข้อมูลไป
ให้ผู้รับได้อย่างเดียว
สัญญาณแบบอนาล็อก
เป็นสัญญาณที่มีค่าต่อเนื่อง อยู่ในรูปแบบของคลื่น ซึ่ง
จะถูกส่งไปในรูปของสัญญาณไฟฟ้า มีการแปลงระดับ
สัญญาณ ขึ้น-ลง ตามขนาดของสัญญาณ (Amplitude)
และมีความถี่ (Frequency) ที่เรียกว่า Hertz (Hz)
โมเด็มเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอล
(Digital Signal) ให้เป็นสัญญาณอะนาล็อค
(Analog Signal) และในทางกลับกันก็แปลง
สัญญาณอะนาล็อก ให้เป็นสัญญาณดิจิตอลโด
ยโมเด็มจะเป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง
สัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณที่มีค่าเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะถูกกำหนดค่า
เป็น “0” หรือ “1” เท่านั้น
การเปลี่ยนแปลงของระดับสัญญาณไม่มีความต่อเนื่อง
( สูง = 1 และ ต่ำ = 0 )
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล :red_flag:
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
สามารถส่งข้อมูลได้ครั้งละบิต โดยจะส่งผ่านไป
ตามสายส่งเรียงลำดับตามกันไปและจะใช้สายส่งเพียงเส้นเดียว จึงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งและนิยมส่งในระยะทางไกลๆ
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
ข้อดี : สามารถส่งข้อมูลได้รวดเร็ว เนื่องจากทำการส่งข้อมูล
พร้อมกันได้ครั้งละหลายๆ บิต
ข้อเสีย : จำนวนสายส่งข้อมูลที่ใช้ต้องมีเท่ากับจำนวนบิตที่ส่ง
ทำให้ต้องมีค่าใช้จ่ายสูงตามไปด้วย
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ข้อมูล :red_flag:
-ผู้ส่ง (Sender)
-ผู้รับ (Receiver)
-ข่าวสารหรือข้อมูล(Message)
-สื่อกลาง (Media)
-โปรโตคอล(Protocol)
เน็ตเวิร์กการ์ดหรือ NIC :red_flag:
เป็นอุปกรณ์ที่ถูกติดตั้งในคอมพิวเตอร์เพื่อเชื่อม
กับเคเบิ้ลในระบบเน็ตเวิร์ก ทำหน้าที่ รับและส่งข้อมูล
จากคอมพิวเตอร์กับเน็ตเวิร์กโดยผ่านสายเคเบิ้ล จะ
แปลงสัญญาณที่ได้รับจากเคเบิ้ลให้เป็นข้อมูลที่
คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ และแปลงสัญญาณจาก
คอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถเดินทางไปใน
สายเคเบิ้ลได้
สื่อกลาง หรือช่องทางในการสื่อสารข้อมูล :red_flag:
สายคู่บิดเกลียว
สาย UTP : (Unshielded Twisted-Pair)
มีราคาถูกที่สุด ประกอบด้วยลวดทองแดงที่มีฉนวน
พลาสติกหุ้ม 2 เส้นนำมาพันเป็นเกลียว ทำให้สามารถ
ลดเสียงรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าได้ และ
ส่งสัญญาณได้ไม่เกิน 100 เมตร
สาย STP : (shielded Twisted-Pair)
เป็นสายคู่ตีเกลียวที่มีฉนวนโลหะลักษณะเป็นโลหะบาง
ๆ ซึ่งช่วยป้องกันการรบกวนสัญญาณจากภายนอกได้ดี
กว่าสาย UTP ในระยะทางประมาณ 100 เมตรเหมือน
กัน แต่ไม่ค่อยยืดหยุ่นในการใช้สายเนื่องจากมีขนาด
ใหญ่ ติดตั้งยากพอสมควร และราคาแพงกว่าแบบ UTP
จึงไม่ค่อยเป็นที่นิยม
สายโคแอกเชียล
เป็นสายเส้นกลม มีไส้กลางเป็นทองแดงหุ้มด้วย
พลาสติก ชั้นถัดมาประกอบด้วยโลหะฟอยด์ที่ทอมาหุ้ม
เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน ชั้นนอกหุ้มพลาสติกอีกชั้น
สามารถทนต่อการรบกวนของสัญญาณภายนอกได้ดี
กว่าแบบสายคู่บิดเกลียว
( Twisted Pair ) แต่ความนิยมใช้งานน้อยกว่าแบบ
Twisted Pair และราคาแพงกว่า
เส้นใยนำแสง
ประกอบด้วยส่วนกลางที่ทำด้วยแก้ว แท่งแก้ว หรือ
พลาสติก ซึ่งถูกล้อมรอบด้วยเส้นใย แล้วมีพลาสติกหุ้ม
ชั้นนอกสุดเพื่อป้องกันการสูญเสียสูญหายของสัญญาณ
จะนำส่งสัญญาณโดยใช้แสง โดยจะเปลี่ยนจาก
สัญญาณไฟฟ้าให้เป็นแสง
สัญญาณต่างๆ ภายนอกไม่สามารถรบกวนได้เลย ใน
ขณะที่สายอื่นๆ สัญญาณจะอ่อนลงเรื่อยๆ เมื่อมีระยะ
ทางไกลขึ้น ราคาจึงสูงมาก
ยากต่อการติดตั้งและดูแลรักษา ถ้าเกิดเสียหายหรือ
หัก การซ่อมแซมทำได้ลำบาก
สามารถส่งสัญญาณได้ในทิศทางเดียว ดังนั้นในการ
ติดตั้งจึงต้องมี 2 เส้นคู่กัน
รับ 1 เส้น ส่ง 1 เส้น สามารถส่งข้อมูลได้
ไมโครเวฟ
ข้อดี
ประหยัดค่าใช้จ่าย
สามารถส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูง
ข้อเสีย
ต้องไม่มีสิ่งใดมากีดขวางทางสัญญาณ
(เส้นสายตา)
สัญญาณถูกรบกวรหรือ
แทรกแซงได้ง่าย
:black_flag:เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ :red_flag:
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสาร
ที่ได้จากการนำ ข้อมูลดิบ (Raw data) มา
คำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่าง
หนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่
สามารถนำไปใช้งานได้ทันที
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง
กระบวนการต่างๆ และระบบงานที่ช่วยให้
ได้สารสนเทศที่ต้องการ โดยจะรวมถึง
เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ
ระบบประมวลผลรายการ :red_flag:
เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1 ระบบประมวลผลรายการ
(TPS : Transaction Processing
Systems)
จะให้สารสนเทศสำหรับระดับปฏิบัติการเท่านั้น
มีการใช้งานแยกจากกันในแต่ละฝ่ายไม่มีความยืดหยุ่น
ไม่ตอบสนองทันทีทันใด ต้องรอให้ถึงเวลาสรุป
ช่วยให้การตัดสินใจของผู้บริหารเป็นไปได้
อย่างสะดวก และง่ายต่อการเรียนรู้ และการใช้งาน
สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ
มีข้อมูลและแบบจำลองสำหรับสนับสนุนการ
ตัดสินใจที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะ
ของปัญหา
มีความยืดหยุ่นที่จะสนองความต้องการที่
เปลี่ยนแปลงไป
สร้างสารสนเทศสำหรับผู้บริหารทั้งระดับกลาง
และระดับสูง ช่วยในการ
ควบคุม/ตรวจสอบการดำเนินงาน
วางแผน
ตัดสินใจ
ข้อมูลอาจมาจากฐานข้อมูลของระบบประมวลผล
ธุรกรรม มาสรุป เปรียบเทียบ ทำสถิติ
วิเคราะห์ เป็นต้น
2.5 ระบบผู้เชี่ยวชาญโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลและ
กฎเกณฑ์ของความรู้ ซึ่งรวบรวมจากสาขา
วิชาที่ต้องการความเชี่ยวชาญไว้ในฐาน
ความรู้ (knowledge base) และโปรแกรม
จะดำเนินการเมื่อมีการป้อนข้อมูลโดยผู้ใช้
ในลักษณะการถามตอบและประมวลคำตอบ
เพื่อหาข้อสรุป
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและขบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการเงิน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการผลิต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการตลาด
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการบัญชี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ :red_flag:
ผลกระทบในทางลบ
ทำให้เกิดอาชญากรรม
ทำให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย
ทำให้เกิดความวิตกกังวล
ทำให้เกิดการเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ
ทำให้มีการพัฒนาอาวุธที่มีอำนาจทำลายสูง
ทำให้ข้อมูลหรือโปรแกรมถูกทำลายได้
ผลกระทบในทางบวก
ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์
ช่วยทำให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น
ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยให้มีความสะดวก
ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น
ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์
เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญ
รุ่งเรือง
ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
:black_flag:พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
:red_flag:อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็น
องค์ประกอบในการกระทำความผิดทั้ง
ทางตรง และ ทางอ้อม โดยเกี่ยวข้องกับ
อาชญากรรมในหลาย ๆ รูปแบบ ดังนี้
ใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด
เป็นเป้าหมายในการกระทำความผิด
ใช้ในการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการกระ
ทำความผิด
เป็นอาชญากรรมรูปแบบใหม่ซึ่งกฎหมายที่มีอยู่เดิม
ไม่เพียงพอที่จะปรับใช้และดำเนินคดีได้ต้องใช้พ.ร.บ.ว่า
ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
ได้แก่
∙ การเจาะระบบคอมพิวเตอร์ (การ
บุกรุก)
∙ การดักรับข้อมูลในเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ (Sniffer)
∙ การขโมย เพิ่ม แก้ไข เปลี่ยนแปลง
ทำลายข้อมูล
(Virus , Trojan , Backdoor)
:red_flag:คดีหมิ่นประมาท / ก่อความเดือดร้อน
รำคาญ
∙ หมิ่นประมาทบนกระดานข่าว, เว็บบอร์ด ,
เว็บไซต์
ประชาชนทั่วไป
สถาบันพระมหากษัตริย์ : เว็บไซต์,
กระดานข่าว, รูปภาพ
ความมั่นคงฯ (การเมือง?)
∙ ก่อความเดือดร้อนรำคาญ/หมิ่นประมาท
โดยใส่เบอร์โทรศัพท์
ของผู้อื่นลงบนกระดานข่าว ทำนอง
ต้องการเพื่อนแก้เหงา
:red_flag:**ลักษณะทั่วไปของอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์
ผู้กระทำความผิดอยู่ตรงไหนก็ได้ใน
โลกความเสียหายกระทบถึงคนจำนวน
มากและรวดเร็ว
ใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการกระ
ทำความผิด
ยากต่อการตรวจพบร่องรอยการกระ
ทำความผิดยากต่อการจับกุมและนำผู้กระทำผิด
:red_flag:สาเหตุการกระทำความผิดความคึกคะนองเพราะอยากแก้แค้นเพื่อการทำโจรกรรมส่งไวรัส โปรแกรมหนอน โทรจัน และ
สปายแวร์
:red_flag:สรุปการกระทำความผิดบน
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มาก
ที่สุดPhishing การหลอกล่อข้อมูลผ่านหน้า
เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่พยายามทำให้เหมือน
Carding การขโมยบัตรเครดิต ซึ่ง
เป็นการทดสอบบัตรว่าใช้ได้หรือไม่ และ
มีการทำธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ตด้วย
Malware / Virus ซอฟต์แวร์ที่หวังร้าย
Spam mail Attack อีเมล์ไม่พึ่งประสงค์
:red_flag:พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ชื่อกฎหมาย : พระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550วันบังคับใช้กฎหมาย : 18 กรกฎาคม
2550ผู้รักษาการ : รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(ไอซีที)
:red_flag:ระบบคอมพิวเตอร์
“ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความ
ว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของ
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงาน
เข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนด
คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด
และแนวทางปฏิบัติงานให้
อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำ
หน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
Company Logo
www.themegallery.com
ข้อมูลคอมพิวเตอร์
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า
ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง
หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบ
คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบ
คอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้
และให้หมายความรวมถึงข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วย
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
:red_flag:ข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความ
ว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของ
ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกำเนิด
ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่
ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรือ
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของ
ระบบคอมพิวเตอร์นั้น
:red_flag:การเข้าถึงระบบ
คอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบ
คอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง
โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับ
ตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน
หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้ง
ปรับ
:red_flag:การเปิดเผยมาตรการ
ป้องกันการเข้าถึง
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกัน
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำ
ขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดัง
กล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่า
จะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวาง
โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน
สองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
:red_flag:มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูล
คอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง
โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับ
ตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือ
ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การพิจารณาฐานความผิด
การกระทำซึ่งเป็นความผิดตาม มาตรา 7
อาจต้องมีการกระทำความผิดตามมาตรา 5
เสียก่อน
:red_flag:การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์
โดยมิชอบ
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิ
ชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้
ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการ
ส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์
นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้
บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ ต้องระวางโทษจำ
คุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
:red_flag:มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย
แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่า
ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูล
คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้อง
ระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่
เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
:red_flag:การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์
“มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใด
โดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบ
คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ
ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงาน
ตามปกติได้
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับ
ไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
เหตุผล การกำหนดฐานความผิดคำนึงถึง
การก่อให้เกิดการปฏิเสธการให้บริการ
(Denial of Service) เป็นสำคัญ
:red_flag:สแปมเมล์ (Spam Mail)
มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น
โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของ
การส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวน
การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดย
ปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง
แสนบาท
:red_flag:การกระทำซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคง
มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทำความผิดตาม
มาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
(๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่
ว่าความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือใน
ภายหลังและไม่ว่าจะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่
เกินสองแสนบาท
เหตุผล กำหนดโทษหนักขึ้น
ตามความเสียหายที่เกิดขึ้น
:red_flag:การใช้อุปกรณ์/ชุดคำสั่งในทางมิชอบ
มาตรา ๑๓ ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุด
คำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็น
เครื่องมือในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕
มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙
มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจำ
คุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
:red_flag:**การนำเข้า/เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม
มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้
ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี
หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(๑) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน
หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดย
ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
(๒) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูล
การนำเข้า/เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม
มาตรา ๑๔ (ต่อ)
(๓) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูล
คอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับ
ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด
เกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูล
คอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามก และข้อ
มูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึง
:red_flag:การกำหนดบทลงโทษผู้ให้บริการ
มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุน
หรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตาม
มาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความ
ควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้
กระทำความผิดตามมาตรา ๑๔
เหตุผล ผู้ให้บริการในที่นี้มุ่งประสงค์ถึง
เจ้าของเว็บไซต์ ซึ่งมีการพิจารณาว่า ควรต้อง
มีหน้าที่ลบเนื้อหาอันไม่เหมาะสมด้วย
:red_flag:การเผยแพร่ภาพซึ่งตัดต่อในลักษณะหมิ่นประมาท
มาตรา ๑๖ ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่
ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่
เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติมหรือดัดแปลงด้วย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดย
ประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น
ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษ
จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าข้อมูล
คอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทำไม่มีความผิด