Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพัฒนาบุคลิกภาพ และจริยา (ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ ของฟรอยด์…
ทฤษฎีพัฒนาบุคลิกภาพ
และจริยา
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์
ของฟรอยด์
จิตเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์
จิตรู้สำนึก
จิตใต้สำนึก
จิตไร้สำนึก
องค์ประกอบของจิต
อิด
จิตผลักดันให้แสดงพฤติกรรมโดยไม่คำนึงถึงเหตุผล
อีโก้
จิตผลักดันให้แสดงพฤติกรรม แต่คำนึงถึงเหตุผล ความเป็นไปได้
ซุปเปอร์อีโก้
จิตควบคุมให้แสดงพฤติกรรมอย่างถูกต้อง มีเหตุผล มีคุณธรรม สอดคล้องกับค่านิยม และการยอมรับจากสังคม
กลไกป้องกันจิต
การโทษผู้อื่น
ฝันกลางวัน
เข้าข้างตนเอง
เก็บกด
แสดงพฤติกรรมไม่ตรงกับความรู้สึก
ย้อนถอย
แยกตัว
ขั้นพัฒนาบุคลิกภาพ
ขั้นปาก (แรกเกิด - 1 ปี)
ขั้นทวารหนัก (1-2 ปี)
ขั้นอวัยวะสืบพันธุ์ ( 3-5 ปี)
ระยะพัก (6-12 ปี)
พอใจเพศตรงข้าม (13-30ปี)
ทฤษฏีจิตสังคมของอิริกสัน
ขั้นพัฒนาทางบุคลิกภาพ
ความรู้สึกวางใจ ไม่ไว้วางใจ
ความรู้สึกเชื่อมั่นหรือเคลือบแคลง
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หรือความรู้สึกผิด
ความกระตือรือร้น ขยันหมั่นเพียรหรือด้วย
ความเข้าใจในตนเองหรือสับสนในตนเอง
รู้สึกเป็นมิตร โดดเดี่ยว แยกตัว
ความรู้สึกรับผิดชอบต่อผู้อื่น หรือ กับตัวเอง
รู้สึกสงบสุขหรือท้อแท้สิ้นหวัง
ทฤษฎีพัฒนาการ
ทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ขั้นการพัฒนาทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
1.จริยธรรมจากภายนอกหรือก่อนกฏเกณฑ์
2.การได้รับผลตอบแทนแลกเปลี่ยน
3.การยอมรับสังคม
ปฏิบัติตามกฏระเบียบของสังคม
สัญญาสังคมและสิทธิส่วนบุคคล
คุณธรรมตสมหลักนิยมสากล
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทางสังคมของแบนดูรา
แนวคิดการเรียนรู้ของมนุษย์มีองค์ประกอบ 3 ด้าน
ด้านตัวบุคคล
ความคิด
ความเชื่อ
ความคาดหวัง
ด้านพฤติกรรม
ด้านสภาพแวดล้อม
กระบวนการทางปัญญาของบุคคล
A = attention
R= retention
B = producing behavior
M = motivated to repeat the behavior
ปรพเภทของตัวแบบ
live model
symbolic model
verbal instruction