Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 จิตวิทยาการศึกษาคืออะไร (ขอบข่ายของจิตวิทยาการศึกษา (พฤติกรรม,…
บทที่1 จิตวิทยาการศึกษาคืออะไร
ขอบข่ายของจิตวิทยาการศึกษา
พฤติกรรม
Metacognilion
รูปแบบการเรียนรู้
จิตวิทยาการพัฒนา
การทดสอบ
การจูงใจ
การจัดการชั้นเรียน
การศึกษาทางไกล
การศึกษาตลอดชีวิต
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
จิตวิทยาการศึกษา
เป็นการศึกษาหาความรู้เพื่อที่จะทำมาใช้ในการจัดดำเนินการเรียน
การสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาศัยแนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยา
มาเป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์ศิลปะการสอนให้เกิดคุณค่าและเกิด
ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน
แนวคิดที่จิตวิทยาการศึกษา
Stanley Hall
การบูรณาการจิตวิทยาสู่การศึกษา
ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ที่ริเริ่มดำเนินการจัดการให้จิตวิทยาเป็นศาสตร์และวิชาชีพอย่างจริงจังเขาเป็นบุคคลแรก ที่เริ่มศึกษาค้นคว้าธรรมชาติของมนุษย์ ในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นจนได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้บุกเบิกให้เกิดการเคลื่อนไหวทางการศึกษาบุคคลในวัยเด็กและยังเป็นผู้นำของการปฏิรูปการศึกษาอีกด้วย
Jojn Dewey
จิตวิทยาและทฤษฎีทางการศึกษา
John Dewey เป็น ทางนักปราชญ์และนักจิตวิทยา เขาเป็นต้นกำเนิด ของแนวคิดทางจิตวิทยากลุ่มหน้าที่แห่งจิต และกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่เชื่อมความสำคัญของสิ่งแวดล้อมว่ามีผลต่อพฤติกรรมของมนุษย์ Dewey เน้นว่า จะต้องจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนตามความสามารถและความสนใจของผู้เรียน ทำให้ทฤษฎีของ Dewey ล้วนแล้วแต่มี อิทธิพลอย่างยิ่งต่อการจัดการศึกษาในปัจจุบันที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียน รู้จักวิเคราะห์ มากกว่าการให้ผู้เรียนจดจำในเนื้อหา ในบทเรียน ที่ผู้สอนเสนอ
William James
ผู้จุดประการแรกของจิตวิทยาการศึกษา
James มีแนวความคิดว่า จิตวิทยาการศึกษาควรเป็นการศึกษาและการทำความเข้าใจกับกระบวนการเรียนการสอน ประกอบไปด้วยสิ่งแวดล้อมตามสภาพจริง และที่สำคัญต้องเข้าใจความคิด ความรู้สึกของนักเรียน
Edeard Thorndike
บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา
Thorndike เป็นนักจิตวิทยาการศึกษาที่สร้าง ประโยชน์ไว้มากมาย ไม่ว่าจะเป็นแบบทดสอบความสามารถในการเรียนรู้ แบบเชาวน์ปัญญา และ Thorndike ได้เน้นการศึกษาทดลองในหาปฏิบัติการเพื่อหาคำตอบ ให้กับปัญหาที่เกิดขึ้นกับกระบวนการการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยเชื่อว่าคำตอบที่ได้จาการศึกษาจะมีความชัดเจนและเชื้อถือได้