Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Petroleum Technology for Engineering (Basic Drilling Practice (Rig system,…
Petroleum Technology for Engineering
Origin of Petroleum and Petroleum system
Origin of Petroleum
Petroleum เกิดจากการทับถมของซากสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะพืชและสัตว์
Petroleum system
Reservoir rock
หินที่เป็นแหล่งกักเก็บ Petroleum ส่วนมากจะเป็นหินทราย เนื่องจากมีความพรุนสูง
Seal or Cap rock
เป็นลักษณะของการปิดกั้นไม่ให้ Petroleum ขึ้นไปบนผิวดิน
Stuctural traps
เกิดจากการเคลื่อนที่ของหินหลังจากทีีกลายเป็นหินแล้ว เช่น Fault trap
Stratigraphic traps
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงหรือความแตกต่างในการลำดับชั้นหิน เช่น Pinch out
Combination
Stuctural traps รวมกับ Stratigraphic traps
Migration
การที่ Petroleum เคลื่อนที่จาก Source ไปยัง Reservoir rock
Traps
โครงสร้างที่ปิดกั้นปิโตรเลียมไม่ให้ขึ้นไปบนผิวดิน
Source rock
หินที่มีแหล่ง Organic matter มากพอที่จะเป็นแหล่งกำเนิดของ Petroleum
Petroleum Exploration
Phase 2 Maapping Potential Reservoirs
1.Geologic evaluation
2.Map and studt the structures you are considering
3.Conduct a magnetic survery
4.Seismic surveying
2D or 3D visualization of the potential reservoir
Phase 3 Drilling an Exploratory Well
1.Prospect proposal
2.Drill site determination
3.Drill an exploratory well
4.Core and well logging
5.Test the well productivity
6.Econnomic feasibllity
Phase 1 Surface Inspection
1.Know that oil is found in sedimentary rock formations
2.Use regional geology as a guide to where oil might be found
3.Consider drilling in or near areas with proven reserves
Look for seeps or leaks
Reservoir Evaluation
จุดประสงค์
ต้องการจะประเมินสิ่งมี่มองไม่เห็นและมองเห็น
ต้องการรู้คุณสมบัติทางเคมีของปิโตรเลียม
ต้องการวิเคราะห์ว่าหลุมเจาะจะพังไหม
Well logging
Wireline logging
Resisivity logging
การหาคุณสมบัติค่าความต้านทานไฟฟ้า
Density logs
การหาความหนาแน่นในหินแต่ละชั้น
Neutron logging
การหาความหนาแน่นของหินแต่ละชั้นโดยการส่งธาตุกัมมันตรังสี
Sonic logging
การหาความหนาแน่นของชั้นหินโดยการส่งคลื่นไปสำรวจ
Gamma ray
การวัดค่ารังสีแกมม่าจากชั้นหินต่างๆ
Spontaneous potential logging
การตรวจวัดความสามารถในการนำไฟฟ้า
Caliper log
การตรวจวัดเสถียรภาพของหลุมเจาะ
Mud log
การนำ cutting จากการที่น้ำโคลนพาขึ้นมาจากหลุมเจาะไปตรวจสอบ
Coring
การตรวจสอบแท่ง core จากการใช้ Diamond core drilling
Basic Drilling Practice
Rig Type
Land rig
Porable rig
Standard rig
Conventional drilling rig
Off shore rig
Bottom sea supported
Fixed platform
Jack up
Floater
Tender
Semi-submersible
Drillship
Basic rig personnel
The toolpusher
The derrick worker
The dtiller
The floor workers
Rig system
Power system
มีหน้าที่ปั่นไฟไปให้ระบบอื่น ใช้งาน เช่น mud pump
Hoisting system
ทำหน้าที่ในการขนย้ายก้านเจาะออกจากหลุม
มีอุปกรณ์หลักดังนี้ Derrick,Crown block,Drawworks,Traveling block,Deadline anchor,Supply reel,Drilling line
Rotating system
ทำหน้าที่ในการหมุนก้านเจาะ
มีอุปกรณ์หลักๆดังนี้ Swivel,Kelly,Rotary table,Drillstring,Drill bit
Circulating system
มีหน้าที่ในการหมุนเวียนน้ำโคลน
มีอุปกรณ์หลักๆดังนี้ Mud pump,Mud pit,Solid control
Well control & monitoring system
มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้หลุมเจาะมีของไหลที่มีความดันสูง ดันขึ้นมาแล้วเกิดการระเบิด ใช้เครื่อง BOP ในการป้องกัน
Bits
Fixed cutter
PDC bit
Diamond bit
Roller cone
Milled tooth bit
Insert bit
Drilling fluid
นำพา cutting ขึ้นมา
ล้างหัวเจาะ
ป้องกันไม่ให้ formation พัง
ควบคุมความดันภายในหลุม
Casing
ป้องกันการพังของ formaton
ป้องกันการสูญเสียน้ำโคลน
Directional Drilling
คำจำกัดความ
เป็นกระบวนการที่เจาะไปในจุดที่คราวหวังว่าจะมีปิโตรเลียม
เป็นการเจาะที่เบี่ยงเบนในแนวระนาบและแนวดิ่งได้
จุดประสงค์
แหล่งปิโตรเลียมบางจุดเข้าถึงยาก
หัวเจาะติดไม่สามารถนำขึ้นมาได้
เกิด Blowout
Basic terminaologies related to direction drilling
Measured depth
ระยะทางทั้งหมดที่เจาะ
True vertical depth
ระยะการกระจัดในการเจาะ
Drop section
ช่วงที่มุมการเบี่ยงเบนลดลง
Build section
ช่วงที่มุมเบี่ยงเบนเพิ่มขึ้น
kick off point
จุดเริ่มต้นที่มีการเบี่ยงเบน
Hold section
ช่วงที่มุมการเบี่ยงเบนคงที่
การใช้งาน
ใช้ในการเพิ่มอัตราการผลิต
บางพื้นที่อยู่ในเขตเมือง ไม่สามารถเจาะได้
แหล่งปิโตรเลียมอยู่ใต้ภูเขา ไม่สามารถตั้งแท่นเจาะบนพื้นที่ลาดเอียงได้
อุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมทิศทางการเบี่ยงเบน
Whipstocks
Jetting bit
Bend subs with downhole motors
Well completion
Completion types
Open hole completion
Liner completion
Perforated completion
Completion components
Wellhead
ทำหน้าที่ในการหนีบและพยุง casing
Christmas tree
Master valve
เป็นวาล์วที่ทำหน้าที่เป็นตัวเปิด-ปิดการไหลของปิโตรเลียม
Wing valve
เป็นวาล์วที่ทำหน้าที่ในเปิด-ปิดในการส่งปิโตรเลียมไปยังกระบวนการแยก
Kill wing valve
เป็นวาล์วที่ไว้ใช้ในการสอดอุปกรณ์ลงไป
Swab valve
Choke
ควบคุมอัตราการไหล
Tubing hanger
ทำหน้าที่ในการรัดท่อผลิตในติดกับ wellhead
Proction tubing
ท่อผลิต
Production packer
ทำหน้าที่ในการปิดกั้นไม่ให้มีช่องว่างระหว่างท่อผลิต
Downhole safety valve
ทำหน้าที่ในการป้องกันให้น้ำมันไหลเข้ามาเร็วเกินไป
Annular safety valve
ป้องกันไม่ให้แก๊สไหลเข้าไปใน annular
Side pocket mandrel
ป้องกันไม่ให้แก๊สไหลเข้าไปในท่อผลิตเร็วเกินไป
Frac sleeve
ทำหน้าที่เป็นตัวเพิมรอยแตกในชั้นหินโดยใช้แรงดันน้ำ
Downhole gauges
เป็นตัววัดความดันและอุณหภูมิ
Perforated joint
เป็นท่อที่ไว้เพิ่มอัตราการผลิต
Centralizer
เป็นตัวควบคุมให้ท่อผลิตอยู่กึ่งกลางหลุมเจาะ
Perforation
Perforating history
1865,well shooting
1910,mechanical casing cutter
1948,the first shaped perforation
1975,underbalanced perforation
1980,propellant-based fracturing
1993,extre overbalanced perforation and fracturing
Perforating methods
Bullet gun perforating
การยิงลูกกระสนุนปืนใส่ production zone
ข้อดี ควบคุมขนาดของรูได้
ข้อเสีย เจาะไม่ค่อยเข้า,หัวกระสนุนไปคาติดอยู่ในรู
water jets
การใช้หัวฉีด ฉีดน้ำแรงดันสูงใส่ production zone แต่จะมีข้อเสียคือ เจาะได้แค่ทีละรู
shaped charge
case
primer
main explosive
conical liner
คือการเพิ่มพื้นผิวให้มีช่องว่างให้ปิโตรเลียมไหลได้มากขึ้น
ประสิทธิภาพของการทำ perforation ขึ้นอยู่กับ
คุณสมบัติของ Fomation
ความสะอาดของการระเบิด
ความลึกของรูที่เจาะ
จำนวนองศาที่หันระเบิด
อุุณหภูมิและความดัน
ความแข็งของ casing
Concession and regulation
ขั้นตอนการพิจารณาคำขอและออกสัปทาน
1.คณะกรรมการรับคำขอ
2.คณะอนุกรรมการพิจารณาคำขอสัมปทานปิโตรเลียม
3.คณะอนุกรรมการพิจารณาข้อกฎหมายและร่างสัมปทานปิโตรเลียม
4.คณะกรรมการปิโตรเลียม
5.รมว.พน
6.ครม
7.รมว. พน.ออกสัมปทาน
พ.ร.บ ปิโตรเลียมไทย THAILAND III Plus
1.หักรายได้จากการขาย 5-15% เข้าภาคหลวง
2.หักค่าใช้จ่าย
3.หัก 0-75% จากที่เหลือจากหักค่าใช้จ่ายแล้ว
4.ได้รายก่อนหักภาษี
5.หักภาษี 50% ของรายได้ที่เหลือ
6.รายได้สุทธฺิ
ตัวอย่าง บริษัทที่ได้สัมปทานปิโตรเลียมในประเทศไทย
กลุ่มบริษัท อพิดก แอลแอลซี
กลุ่มบริษัท บีจี เอเซีย อิงค์
กลุ่มบริษัท เซฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด
นาย จิรวัฒน์ แจ่มทุ่ง B5822522