Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาว สีตีมารียัม มีนา รหัส 6006810006 (บทที่ 2ฮารดแวรคอมพิวเตอร*…
นางสาว สีตีมารียัม มีนา รหัส 6006810006
บทที่ 1
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
■ [ ประมาณ 2,600 ปกอนคริสตกาล ] ชาวจีนได
ประดิษฐเครื่องมือเพื่อใชในการคํานวณขึ้นมาชนิด
หนึ่ง เรียกวา ลูกคิด ( Abacus)
■ [ พ.ศ. 2158 ] จอหน เนเพีย (John Napier) นัก
คณิตศาสตรชาวสก็อตแลนดไดประดิษฐอุปกรณที่
ใชชวยในการคํานวณขึ้นมา เรียกวา Napier’s
Bones มีลักษณะคลายกับตารางสูตรคูณใน
ปจจุบัน
■ [ พ.ศ.2173 ] วิลเลียม ออตเทรต (William
Oughtred) นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษไดประดิษฐ
ไมบรรทัดคํานวณ (Slide Rule)
ซึ่ง ตอมากลายเปนพื้นฐานของการสราง คอมพิวเตอร
แบบอนา■ [ พ.ศ.2365 ] ชารล แบบเบจ (Charles Babbage)
นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษไดประดิษฐเครื่องหาผล
ตาง (Difference Engine) เพื่อใชคํานวณ
พิมพคาทางตรีโกณมิติและฟงกชันทางคณิตศาสตร
ยุคของคอมพิวเตอร์
■ ยุคหลอดสูญญากาศ (Vacuum Tube )
■ ยุคทรานซิสเตอร (TR : Transistors)
■ ยุคแผงวงจรรวม (IC : Integrated Circuits)
■ ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ (LSI : Large
Scale Integrated Circuit)
ความหมายของคอมพิวเตอร์
■ คอมพิวเตอร์หมายถึง
อุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ที่มนุษยสรางขึ้น
เพื่อใชเปนเครื่องมือชวยในการคํานวณหรือ
ประมวลผล และจัดการกับขอมูล ทั้งตัวเลข ตัว
อักษร
จะทํางานตามโปรแกรมที่วางเอาไว และ
ประมวลผลลัพธตามที่ตองการไดอยางถูกตอง และ
แมนยํา
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
■ ความเร็ว (Speed)
■ ความเชื่อถือได (Reliable)
■ ความถูกตองแมนยํา (Accurate)
■ เก็บขอมูลไดมาก (Store massive
amounts of information)
■ เคลื่อนยายขอมูลไดรวดเร็ว (Move
information)
ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบของพิวเตอร์
ฮารดแวร
ซอฟทแวร
พีเพิลแวร
ฮาร์ดแวร์
■ ลักษณะทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร
ซึ่งหมายถึง
ตัวเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขาง
ที่เกี่ยวของและสามารถจับตองได
■ การทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอรมี 4 อยาง
คือ (IPOS Cycle)
■ หนวยรับขอมูล (Input Unit)
■ หนวยประมวลผล (CPU : Central
Processing Unit)
ซอฟต์แวร์
■ คําสั่งหรือโปรแกรมจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษา
คอมพิวเตอร
และมีโปรแกรมเมอรเปนผูเขียน
■ ซอฟตแวรสามารถแบงออกได 2 ประเภท คือ
■ ซอฟตแวรระบบ (System Software)
■ ซอฟตแวรประยุกต (Application
Software)
บุคลากร
ผูใชงานคอมพิวเตอรซึ่งแบงไดหลายระดับ
ผูจัดการ
นักวิเคราะหออกแบบระบบ
นักเขียนโปรแกรม
วิศวกรคอมพิวเตอร
พนักงานควบคุมเครื่อง
ผูควบคุมการปฏิบัติงาน
พนักงานเตรียมขอมูล
ประเภทของคอมพิวเตอร์
■ แบงตามความแตกตางจากขนาดและ
ความเร็วในการประมวลผล
■ ซูเปอรคอมพิวเตอร (Super computer)
■ เมนเฟรม (Mainframe)
■ มินิคอมพิวเตอร (Mini computer)
■ ไมโครคอมพิวเตอร (Micro computer)
■ แท็บเล็ต (Tablet)
■ คอมพิวเตอรแบบฝงตัว (Embedded
Computer)
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์
■ เปนคอมพิวเตอรที่มีขนาดใหญที่สุด เกิดเมื่อ
ค.ศ.1960กระทรวงกลาโหมของ USA
■ ใชในการคํานวณที่ซับซอน เชน การ
คํานวณทางวิทยาศาสตรการบิน อุตสาหกรรมนํ้ามัน งานควบคุมทางอวกาศ
เปนตน
คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว
■ เปนคอมพิวเตอรที่ถูกฝงไปในอุปกรณตางๆ
ทําใหมองไมเห็นจากรูปลักษณภายนอก
วาเปนอุปกรณคอมพิวเตอร
■ นิยมใชงานเฉพาะดาน โดยทําหนาที่เปนตัว
ควบคุมบางอยาง เชน เตาอบไมโครเวฟ
ระบบการเติมนํ้ามัน นาฬิกาขอมูล โทรศัพท
เคลื่อนที่ เป
บทที่ 2
ฮารดแวรคอมพิวเตอร*
หน่วยความจําหลัก
เปนอุปกรณที่ใชในการจดจําขอมูล และ
โปรแกรมตางๆที่อยูระหวางการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร
■ หนวยความจําหลักแบงไดสองประเภท คือ
■ RAM (Random Access memory)
แบบเก็บขอมูลชั่วคราว เก็บขอมูลอยูไดแต
ตองมีไฟเลี้ยง
■ ROM (Read Only Memory)
แบบเก็บขอมูลถาวร เก็บขอมูลอยูไดแมไมมี
ไฟเลี้ยง
ความหมายของ Hardware
หมายถึง*
ตัวเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณรอบ
ขางที่เกี่ยวของตางๆ ซึ่งประกอบไปดวย
สวนสําคัญคือ หนวยประมวลผลกลาง,
หนวยความจําหลัก, หนวยรับขอมูล, หนวย
แสดงผล, หนวยเก็บขอมูลส
อุปกรณสื่อสารขอมูล
เปนอุปกรณที่ใชเชื่อมตอคอมพิวเตอรจํานวน
ตั้งแตสองเครื่อง
เขาหากัน MODEM
(Modulation-demodulation) มีหนาที่ในการ
เปลี่ยนสัญญาณดิจิตอลเปนอนาลอกแลวสงไปตาม
สายโทรศัพทจากนั้นเมื่อไดรับสัญญาณอนาลอกก็
จะทําการเปลี่ยนใหเปนสัญญาณดิจิตอลเพื่อทําการ
ประมวลผลตอไป
หนวยรับขอมูล
ทําหนาที่รับขอมูลจากผูใชเขาสูหนวยความจําหลัก
ปจจุบันมีอยูมากมาย เชน
■ อุปกรณแบบกด = แปนพิมพ (Keyboard)
■ อุปกรณชี้ตําแหนง = เมาส (Mouse),, จอยสติ๊ก
(Joystick)
■ จอภาพระบบไวตอการสัมผัส = จอภาพสัมผัส
(Touch Screen)
■ อุปกรณบันทึกภาพ = กลองดิจิตอล (Digital
Camera)
■ ระบบกวาดขอมูล = สแกนเนอร (Scanner)
■ อุปกรณรูจําเสียง = ไมโครโฟน (Microphone)
หนวยแสดงผล
หนวยแสดงผล คือ อุปกรณที่แสดงผลลัพธจาก
คอมพิวเตอร
■ แบงไดเปนสองแบบ คือ
■ หนวยแสดงผลชั่วคราว
■ จอภาพ (Monitor)
■ ลําโพง (Speaker)
■ โปรเจ็คเตอร (Projector)
■ หนวยแสดงผลถาวร
■ เครื่องพิมพ (Printer)
■ พล็อตเตอร (Plotter)
■ ประเภทของจอภาพ
■ จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube)
เปนจอภาพที่ใชกับคอมพิวเตอรตั้งโตะ มี
หลักการทํางานแบบเดียวกับจอโทรทัศนทํางาน
โดยใชกระแสไฟฟาแรงสูง (high voltage)
คอยกระตุนใหอิเล็กตรอนภายในหลอดภาพแตก
ตัวอิเล็กตรอนดังกลาวจะทําใหเกิดลําแสง
อิเล็กตรอนไปกระตุนผลึกฟอสฟอรัสที่ฉาบอยูบน
หลอดภาพ เมื่อฟอสฟอรัสถูกกระตุนจาก
อิเล็กตรอนจะเกิดการเรืองแสงและปรากฏเปนจุด
สีตางๆ (RGB Color) ซึ่งรวมเปนภาพบนจอ
หนวยเก็บขอมูลสํารอง
■ คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลในรูปของเลข
ฐานสอง มี 0,1
ชนิดของหน่วยความจําสํารอง
■ เทปแมเหล็ก (Tape)
■ ดิสกแมเหล็ก (Magnetic disk)
■ ออปติคัลดิสก
■ หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช
หนวยประมวลผลกลาง
■ ซีพียู (CPU : Central Processing Unit)
เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอรเปนตัว
กําหนดความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอร CPU
รุนใหมๆจะมีขนาดเล็กลงแตความเร็วเพิ่มขึ้น
■ วงจรภายในหนวยประมวลผลกลางเรียกวา
ไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessor)
ประกอบดวยหนวยสําคัญสองสวนคือ
■ หนวยควบคุม ( CU : Control Unit)
■ หนวยคํานวณและตรรกะ(ALU : Arithmetic and
Logic Unit)
เทปแมเหล็ก (Tape)
■ ปนหนวยเก็บขอมูลที่ใชกันมานานตั้งแต
คอมพิวเตอรยุคที่หนึ่งและยุคที่สอง ปจจุบัน
ไดรับความนิยมนอยลง เทปแมเหล็กมี
หลักการทํางานคลายเทปบันทึกเสียง แต
เปลี่ยนจากการเลน (Play) และบันทึก
(Record) เปนการอาน (Read) และเขียน
(Write) แทน
ขอดี
■ เก็บขอมูลไดมาก เคลื่อนยายสะดวก
■ สามารถบันทึกขอมูลซํ้าไดทําใหประหยัด
■ ความเร็วในการถายเทขอมูล (Transfer Rate)
สูง
ขอเสีย
■ ตองเริ่มอานขอมูลตั้งแตตนมวน (Sequential
Access)
■ ตองระวังในการจับถือ (สิ่งสกปรก รอยนิ้วมือ
และการชํารุดแตกหัก)
■ สถานที่เก็บตองเหมาะสม ระวังเรื่องฝุน อุณหภูมิ
และสนามแมเหล็ก
■ อานขอมูลไดชา
เครื่องสํารองไฟฟา
UPS (Uninterruptible Power Supply) เปน
อุปกรณสําหรับจายกระแสไฟฟาสํารองจากแบตเตอรี่
เพื่อเปนแหลงพลังงานฉุกเฉิน ในกรณีเกิดปญหากับ
ระบบไฟฟาหลัก เชน ไฟดับ ไฟตก
มี UPS สองแบบ คือ
• Standby power systems จายไฟ เมื่อไฟ
ตก,ราคาตํ่า,อาจะมีผลกระทบ
ตออุปกรณที่มีค
วามไวสูง
• On-line UPS systems จายไฟ ตลอด
เวลา แตราคาแพง
บทที่ 3
ซอฟตแวรคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอรซอฟตแวร
ซอฟตแวรหมายถึง โปรแกรมหรือชุด คําสั่งที่พัฒนาขึ้นมาและสั่งการโดยมนุษย
เพื่อใหฮารดแวรหรืออุปกรณตางๆ ทํางาน อยางเปนขั้นเปนตอน และไดผลลัพธการ
ทํางานตามที่มนุษยหรือผูใชตองการ
ซอฟตแวรหมายถึง สวนของ
โปรแกรมคอมพิวเตอรหรือกระบวนการ
ในการทํางาน ตลอดจนเอกสารประกอบที่
เกี่ยวของในระบบประมวลผลขอมูลแบบ
อิเล็กทรอนิกส
ซอฟตแวรคือ โปรแกรมหรือขอมูล
การทํางานของระบบ
คอมพิวเตอร
■ คอมพิวเตอรทํางานดวยภาษาเครื่อง (Machine
Language)
■ ดิจิตอลคอมพิวเตอรใชการสงสัญญาณในรูปของแรง
กระตุนเปนตัวเลข (Digital pulse)
■ แรงดันไฟฟาสูง (เปด) และตํ่า (ปด) ซึ่งใช 1 และ 0 แทน
ได
■ ระบบจํานวนที่มีเลขนับอยู 2 ตัวเลข (0 และ 1) เรียกวา
ระบบไบนารี (Binary system)หรือเลขฐานสอง
หน่วยความจุของข้อมูล
■ บิต (bit) เปนหนวยที่เล็กที่สุดของคอมพิวเตอร เปนคาตัว
เลขตัวหนึ่ง ไดแก 0 หรือ 1
■ ไบต (byte) เปนกลุมของบิตที่รวมกันเพื่อแทนสัญลักษณ
ตางๆ
■ 8 บิต เปน 1 ไบต(11110000 Bit = 1 Byte)
■ กิโลไบต (Kilobyte) ใชตัวยอวา KB มีคาเทากับ 1,024
ไบตหรือประมาณ 1,000 ไบต์เทียบเท่ากับตัวอักษร
ประมาณ 1,000 ตัว หรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ
เชน ถาพูดวา คอมพิวเตอรมีหนวยความจํา 64 กิโลไบต
หมายความวา มีเนื้อที่ในหนวยความจํา 65,536 ไบต
สามารถเก็บตัวอักขระได 65,536 ตัวอักขระ
ประเภทของซอฟตแวร
ซอฟตแวรสามารถแบงตามลักษณะการใช
งานได 2 ประเภท คือ
■ ซอฟตแวรระบบ
■ ซอฟตแวรประยุกต
วิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร
(Computer Language)
■ เครื่องคอมพิวเตอรสื่อสารโดยใชเลขฐานสอง เทานั้น (0,1)
■ ภาษาที่ใชเฉพาะเลขฐานสองในคอมพิวเตอร
เรียกวา ภาษาเครื่อง
■ การเรียนรูภาษาคอมพิวเตอรนั้นยากมาก
ดังนั้นจึงมีผูคิดคนภาษาสําหรับติดตอสื่อสาร
ระหวางคอมพิวเตอรกับมนุษยเรียกวา ภาษา
คอมพิวเตอร
■ มีการกําหนดระดับของภาษาคอมพิวเตอร
วาเปนภาษาระดับสูงหรือระดับตํ่า จะขึ้นกับวา ภาษานั้นใกลเคียงกับคอมพิวเตอร(ใกลเคี
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร
สามารถแบงภาษาคอมพิวเตอรได 5 ระดับคือ
■ ภาษาเครื่อง
■ ภาษาแอสเซมบลี (ภาษาระดับตํ่า)
■ ภาษาระดับสูง เชน JAVA,COBOL,Pascal,
C,C++…
■ ภาษาระดับสูงมาก เชน SQL
■ ภาษาธรรมชาต
หนาที่ของระบบปฏิบัติการ
(Operating System)
■ จัดการสวนประกอบตางๆ ของระบบ
คอมพิวเตอรเชน CPU หนวยความจํา ที่
เก็บขอมูลสํารอง
■ จัดการงานในสวนของการติดตอผูใช
■ ใหบริการโปรแกรมประยุกตอื่นๆ
ซอฟตแวรระบบ (System
Software)
➢ โปรแกรมทุกโปรแกรมที่ทําหนาที่ติดตอกับ
สวนประกอบตางๆ ของฮารดแวรและอํานวย เครื่องมือสําหรับทํางานพื้นฐานตางๆ ที่
เกี่ยวของกับฮารดแวรเชน การแสดงรายชื่อ
แฟมที่เก็บในหนวยเก็บขอมูลสํารอง, การ
แสดงผลออกทางจอภาพ เปนตน
➢ ซอฟตแวรระบบการประกอบดวยซอฟตแวร
2 ประเภทคือ
■ ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
■ ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร (Translator)
รูปแบบของตัวแปลภาษา
(Translators)
■ แอสแซมเบลอ (Assembler)
■ เปนตัวแปลภาษาแอสเซมบลีซึ่งเปนภาษาระดับ
ตํ่าใหเปนภาษาเครื่อง
■ อินเทอรพรีเตอร (Interpreter)
■ เปนตัวแปลภาษาระดับสูงไปเปนภาษาเครื่อง โดย
ใชหลักการแปลพรอมกับทํางานตามทํางานตาม
คําสั่งทีละบรรทัด
■ คอมไพเลอร (Compiler)
■ เปนตัวแปลภาษาระดับสูงไปเปนภาษาเครื่อง แต
จะใชวีธีแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมใหเปนออ
บเจคโคด กอนที่จะสามารถนําไปทํางานเชน
เดียวกันกับแอสเซมเบลอ
ซอฟตแวรประยุกต
■ เปนโปรแกรมที่ทําใหคอมพิวเตอรสามารถทํา
งานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ไมวาจะเปนดาน
การจัดทําเอกสาร การทําบัญชีตลอดจนดาน
อื่นๆ
■ แบงได 2 ประเภทคือ
■ ซอฟตแวรสําหรับงานเฉพาะดาน (Special
Purpose Software)
■ ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป (General
Purpose Software)
ซอฟต์แวร์สําหรับงทั่วไป
■ เปนซอฟตแวรที่ออกแบบมาสําหรับงาน
ทั่วไป สามารถนํามาประยุกตใชกับงานของ
องคกรหรืองานสวนตัวไดอยางหลากหลาย
■ สามารถแบงตามประเภทของงานไดดังนี้
■ ซอฟตแวรตารางวิเคราะหอิเล็กทรอนิกส
■ ซอฟตแวรประมวลผลคํา
■ ซอฟตแวรนําเสนอ
■ ซอฟตแวรกราฟก
■ ซอฟตแวรฐานขอมูล
การพิจารณาซอฟตแวรตาม
หลักการของลิขสิทธิ์
ซอฟตแวรที่ใชงานในปจจุบันนั้นมี
หลากหลายผลิตภัณฑ หลากหลายผูผลิต
บางผลิตภัณฑจะตองเสียคาใชจาย จึงจะ
สามารถใชงานได
บางผลิตภัณฑก็สามารถใหใชงานไดโดย
ไมเสียคาใชจาย
การพิจารณาซอฟตแวรตาม
หลักการของลิขสิทธิ์
การพิจารณาซอฟตแวรสามารถมองไดเปน 3
กลุม
■ ซอฟตแวรที่มีลิขสิทธิ์
■ ซอฟตแวรแชรแวร (Share Ware)
■ ซอฟตแวรฟรีแวร (Free Ware) แบงเปน 2
กลุม
■ ซอฟตแวรฟรีแวรที่ไมเปดเผยวิธีในการผลิต
■ ซอฟตแวรที่เปดเผยวิธีการผลิต เรียกอีกชื่อวา
ซอฟตแวรโอเพนซอรส ( Open Source
บทที่ 4
ระบบอินเทอรเน็ตและ
การใชงาน
ระบบการแทนชื่อในอิน
เทอรเน็ต
นอกจากนี้คอมพิวเตอรบนอินเทอรเน็ตจะตองมี
ไอพีแอดเดรส (IP Address) เปนหมายเลข
ประจําเครื่องคอมพิวเตอรในอินเทอรเน็ต ซึ่งจะ ไมซํ้ากัน ประกอบดวยตัวเลข 4 ชุดที่คั่นกันดวย
เครื่องหมายจุด(.) ขนาด 32 บิต ถูกแบงเปน 4
สวน สวนละ 8 บิตเทาๆกัน
รหัสโดเมนระดับบนสุดแบบสากล เปนรูปแบบ
มาตรฐานที่ใชในสหรัฐอเมริกา ไดแก
.comกลุมธุรกิจการคา sun.com
.edu สถาบันการศึกษา ucla.edu
.gov หนวยงานของรัฐบาล nasa.gov
.mil หนวยงานทหาร army.mil
.net หนวยงานเกี่ยวกับเครือขาย
isp.net
.org หนวยงานที่ไมหวังผลกําไร
unesco.org
ในประเทศไทยจะมีโดเมนระดับบนสุดคือ th
และมีรหัสโดเมน (DNS) ยอยแทนประเภทของ
หนวยงาน คือ
.ac สถาบันการศึกษา hu.ac.th
.co กลุมธุรกิจการคา inet.co.th
.mi หนวยงานทางทหาร navi.mi.th
.go หนวยงานของรัฐบาล
thaigov.go.th
.or องคกรไมหวังผลกําไร
nectec.or.th
หนวยงาน InterNIC (Internet Network
Information Center )ไดกําหนด รหัสโดเมน
ระดับบนสุด ใหเปนมาตรฐานใชรวมกันสําหรับ
หนวยงาน และประเทศตางๆ
โดเมนระดับบนสุด (Top-level domain -
TLD) คือ
สวนทายของโดเมนเนมบนอินเทอรเน็ต
(www.hu.ac.th)
การติดตอเขาสูอินเทอรเน็ต
การติดตอเขาใชบริการอินเทอรเน็ตจะมี 2 วิธี
คือ
การเชื่อมตอโดยตรง (Direct
Internet Access)
การเชื่อมตอผานการหมุนโทรศัพท
(Dial Up Access)
โปรโตคอล
(TCP/IP)
คอมพิวเตอรบนอินเทอรเน็ตติดตอกันโดยใชโป
รโตคอลแบบ
ทีซีพี (TCP) และ ไอพี (IP) เรียกรวมๆ กันวา ทีซี
พี/ไอพี (TCP/IP) โดยที่
ทีซีพี (TCP:Transmission Control Protocol)
ทําหนาที่ในการควบคุมและรับประกันความถูก
ตองในการสงขอมูล
ไอพี (IP:Internet Protocol)
ทําหนาที่ในการกําหนดที่อยูหรือแอดเดรส
ISP คืออะไร?
■ ISP หรือ Internet Service Provider
คือ หนวยงานที่ใหบริการเชื่อมตอเขากับ
เครือขายอินเทอรเน็ต
ทําหนาที่ เสมือนเปนประตูเปดการเชื่อมตอ
ใหบุคคลหรือองคกรสามารถใชงานอิน
เทอรเน็ตได
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการสืѷอสารและแลกเปลีѷยนข้อมูลก่อให้
เกิดประโยชน์มากมายได้แก่
➢ ดานการติดตอสื่อสาร เกิดการแลกเปลี่ยนขอมูล การ
สงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือการพูดคุยดวยการ
สงสัญญาณภาพและเสียง
➢ มีระบบการเรียนการสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต
➢ สามารถคนหาขอมูลในดานตางๆ ไดผานบริการ
World Wide Web
➢ การบริการทางธุรกิจ เชน สั่งซื้อสินคา หรือการ
โฆษณาสินคาตางๆ
อินเทอร์เน็ตคืออะไร?
■ Internet ยอมาจาก Inter Connection
Network
คือ ระบบเครือขายคอมพิวเตอรหลายๆ เครือ
ขายที่มีการเชื่อมโยงเขาดวยกันใหสามารถ
รับสงขอมูลกันได
โดยที่คอมพิวเตอรทุกเครื่องจะสามารถเชื่อม
ตอถึงกันไดทั่วโลก ระบบแตกตางกันก็เชื่อม
ตอกันไดเรียกอีกอยางหนึ่งวา ไซเบอรสเปซ
( Cyberspace )
โทษของอินเทอร์เน็ต
มีหลากหลายลักษณะ ทัҟงทีѷเป็ นแหล่ง
ข้อมูลทีѷเสียหาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง,
แหล่งซืҟอขายประกาศของผิดกฏหมาย,ขาย
บริการทางเพศ
ทีѷรวมและกระจายของไวรัสคอมพิวเต
อร์ต่างๆ
■ อินเทอรเน็ตเปนระบบอิสระ ไมมีเจาของ ทําใหการ
ควบคุมกระทําไดยาก
■ มีขอมูลที่มีผลเสียเผยแพรอยูปริมาณมาก
■ ไมมีระบบจัดการขอมูลที่ดี ทําใหการคนหากระ
ทําไดไมดีเทาที่