Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก (Hydatidiform mole-HM) (อาการและอาการแสดง…
การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก (Hydatidiform mole-HM)
สาเหตุ
ยังไม่ทราบชัดเจน
ปัจจัยเสี่ยง
ตั้งครรภ์ท้องแรก
มารดาติดสารเสพติด เช่น บุหรี่
มารดาอายุมากกว่า 3 ปี
การแบ่งชนิด
Partial Hydatidiform mole (PHM)
เห็นด้วยตาเปล่า
มี embryo หรือ fetus ร่วมกับรก ลักษณะเฉพาะของ molar villi เป็นหย่อมๆ
มีเนื้อเยื่อ chorion,amnion หรือ embryonic fragment กลาง molar villi
มีเส้นเลือดใน stroma
Complete Hydatidiform mole (CHM)
เกิดจาก chorion villi เสื่อมสภาพ
ระหว่างถุงน้ำพบลิ่มเลือดและเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพแล้ว
เห็นด้วยตาเปล่า เป็นถุงน้ำใส ขนา 1-30 มม. ในโพรงมดลูก
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกจากช่องคลอด สีคล้ำหรือสีน้ำลุกพรุน กระปริดปะปรอย
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
มีอาการและอาการแสดงของครรภ์เป็นพิษในช่วงอายุครรภ์ก่อน 24 สัปดาห์
คลื่นไส้อาเจียนมาก
ตรวจภายในพบ Theca lutein cyst
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
ในรายที่แท้งออกมาบางส่วน พบ molar vesicle
ความดันดลหิตสูงในอายุครรภ์น้อยๆ
การรักษา
การขูดมดลูกด้วยเครื่องสุญญากาศ โดยการให้ยา oxytocin ร่วมกับการขูดมดลุกเพื่อป้องกันการเสียเลือดมาก
การตัดมดลูก
ในผู้ป่วยที่อายุมาก 40 ปีขึ้นไป หรือมีบุตร 3 คนขึ้นไป
การใช้สารเคมีเพื่อป้องกันการกลายเป้นมะเร็ง
ครรภ์ไข่ปลาอุกส่งผลให้เกิด malignant GTD ได้
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง จะพบ snow strom
การฉีดสารทึบแสงเข้าไปในดพรงมดลูกและถ่ายภาพรังสี
ตรวจหาปริมาณฮอร์โมน hCG
การติดตามผลการรักษา
คุมกำเนิด 1 ปี โดยใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด
ติดตามอาการและอาการแสดง เช่น เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
การตรวจหาปริมาณฮอร์โมน hCG
ทุก 1-2 สัปดาห์จนผลเป็นลบ(น้อยกว่า 5 mlU/ml)
ทุก 1 เดือน = 6 เดือน
ทุก 2 เดือน = 6 เดือน
ทุก 6 เดือน อย่างน้อย5 ปี หรือจนตั้งครรภ์ครั้งต่อไป