Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (การวินิจฉัย (มีอาการปวดท้องน้อยอย่างเฉียบพลันร่วมกับ…
การตั้งครรภ์นอกมดลูก
การวินิจฉัย
-
-
-
-
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง BhCGในเซรั่มมีความไวเพิ่มขึ้น ความดันโลหิตต่ำตามสัดส่วนจำนวนเลือดที่อยู่ในช่องท้อง ชีพจรเต้นเร็วขึ้นอาจพบภาวะ hypovolemic shok
-
คลำพบก้อนในอุ้งเชิงกราน ก้อนที่คลำพบอยู่ข้างใดข้างหนึ่งขนาด 5-15cm.และมีการเปลี่ยนแปลงที่ตัวมดลูก จะพบมดลูกเอียง
สาเหตุ
-
-
-
-
-
ความล้มเหลวหลังการทำหมั้นหญิง เช่นในรายที่รับประทานยาคุมกำเนิดชนิด progesterone อย่่างเดียวหลอดเลือดมดลูกจะมีการหดรัดตัวลงทำให้ blastocyst เดินทางเข้าสู่โพรงมดลูกช้ากว่าปกติ
อาการแสดง
-
-
-
-
-
การกดเจ็บปีกมดลูกและมีอาการเจ็บเมื่อโยกปากมดลูก (cervical excitation)ซึ่งแสดงถึงการอักเสบของเยื่อบุอุ้งเชิงกราน
การรักษา
- การรักษาแบบประคับประคองและสังเกตอาการ
จะพิจารณาในผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์นอกมดลูกที่ไม่มีอาการ มีค่า
beta-hCG ในซีรั่มน้อยกว่า 1,000 มิลลิยูนิต/มล.และมีการลดลงมากกว่าร้อยละ 50 ในเวลา 7 วัน
-
3.การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดแบบ linear salpingostomyเป็นการกรีดท่อนำไข่ที่บริเวณด้าน antemesosalpinx ยาวประมาณ 1 ซม. จากนั้นทำการคีบหรือดูดชิ้นเนื้อของการตั้งครรภ์นอกมดลูกออกเบา ๆ เพื่อลดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อข้างเคียง แล้วทำการห้ามเลือดด้วยการจี้ไฟฟ้า แผลผ่าตัดบริเวณท่อนำไข่จะถูกเปิดไว้ให้เกิดการหายของแผลแบบทุติยภูมิ ซึ่งจะทำให้ลดการเกิดท่อนำไข่อุดตันภายหลังการผ่าตัดได้
การผ่าตัดแบบ salpingectomy เป็นตัดท่อนำไข่ข้างที่เกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกออก โดยอาจจะตัดออกเฉพาะส่วนที่มีก้อนการตั้งครรภ์ (partial or segmental salpingectomy) หรือตัดท่อนำไข่ข้างที่เกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกออกทั้งหมด (total salpingectomy) มักทำในผู้ป่วยที่ท่อนำไข่มีความผิดปกติรุนแรง ก้อนการตั้งครรภ์มีขนาดใหญ่มากกว่า 5 ซม. ผู้ป่วยที่มีการกลับเป็นซ้ำในท่อนำไข่ข้างเดิม ผู้ป่วยที่มีการแตกของก้อนจนเกิดการตกเลือดอย่างรุนแรงและผู้ป่วยที่ไม่ต้องการมีบุตรแล้ว
สรุป
การตั้งครรภ์นอกมดลูก เป็นภาวะฉุกเฉินทางนรีเวชที่พบได้บ่อยและอาจจะก่อให้เกิดภาวะทุพลภาพและเสียชีวิตในกรณีที่มาพบแพทย์ช้าหรือไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม การวินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูกจะต้องอาศัยอาการ อาการแสดง การตรวจวัดระดับ beta-hCG ในซีรั่ม และลักษณะที่พบจากการตรวจอัลตราซาวน์ทางช่องคลอดมาประกอบกันการรักษาการตั้งครรภ์นอกมดลูก ประกอบด้วย การรักษาแบบประคับประคองและสังเกตอาการ การรักษาด้วย metrotrexate และการผ่าตัด ซึ่งมีข้องบ่งชี้ที่แตกต่างกันไปผู้ป่วยที่เคยเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกควรจะรีบมาพบแพทย์โดยเร็วหากสงสัยว่าตั้งครรภ์ เพื่อเฝ้าระวังการเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกซ้ำ
การตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นจากไข่ที่ถูกผสมแล้วฝังตัวนอกโพรงมดลูกพบบ่อยที่ตำแหน่ง ampular สามารภพบได้ที่รังไข่ ปากมดลูก ในช่องท้องตับ ม่ามได้