Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Intrauterine growth restriction (ทารกโตช้าในครรภ์) (วิธีการคลอด…
Intrauterine growth restriction
(ทารกโตช้าในครรภ์)
สาเหตุ
ปัจจัยทางมารดา
น้ำหนักของมารดาไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
ภาวะทุพโภชนาการในมารดา
การติดเชื้อ อาจส่งผลให้มีการติดเชื้อของรก และทารกในครรภ์
มารดาที่มีรูปร่างเล็ก
โรคของมารดา
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ไตเรื้อรัง
ปัจจัยแวดล้อม
สูบบุหรี่ตั้งแต่ 20มวน/วัน
สารเสพติด แอลกอฮอล์
การใช้ยา เช่น ยากันชัก
ยาห้ามการแข็งตัวของเลือด
ปัจจัยจากทารก
ความผิดปกติทางโครงสร้างของอวัยวะ เช่นทารกไม่มีกะโหลกศีระษะ หน้าท้องไม่ปิด
ความผิดปกติของโครโมโซม เช่น Trisosomy21,18,13
ปัจจัยจากรก
Placenta circumvallata
Placenta previa
ชนิด
Symmetrical IUGR
มีการเจริญเติบโตช้าในทุกระบบอวัยวะ ความกว้างศีรษะ เส้นรอบวงศรีษะ เส้นรอบท้อง ความยาวกระดูกต้นขา มีค่าต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ
Asymmetrical IUGR
ขนาดเส้นรอบท้องเล็กกว่าปกติ ขณะที่เส้นรอบศีรษะ ความกว้างศีรษะยังไม่ผิดปกติ
การวินิจฉัย
ประวัติการฝากครรภ์
การตรวจความสูง
ของยอดมดลูก
ช่วง 18-30 wks ความสูงของยอดมดลูกเป็น cm จะเท่ากับอายุครรภ์
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
BPH : Biparietal diameter (วัดความกว้างของกะโหลกศีรษะ)
FL : Femur length
AC : Abdominal circumference (เส้นรอบท้อง)
การคำนวณน้ำหนักทารก
การดูแลรักษา
ค้นหาและลดปัจจัยเสี่ยง
เสริมสร้างการเจริญเติบโตของทารก
การซักประวัติมารดาอย่างละเอียด การทำงาน การพักผ่อน การใช้ยา การใช้สารเสพติด
ให้มารดานอนตะแคงซ้าย เพื่อในเลือดไปเลี้ยงรกและทารกมากที่สุด
การให้ออกซิเจนแก่มารดา
การ Aspirin ขนาดต่ำ เพื่อป้องกันหรือรักษาภาวะทารกโตช้าในครรภ์ ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงรกและทารกเพิ่มขึ้น
ตรวจเฝ้าระวังสุจภาพ
ของทารกในครรภ์
การนับลูกดิ้น
การใช้ Biophysical profile (BPP) และ NST
ใช้คลื่นเสียงความถี่สูง Doppler
การกำหนดเวลาคลอดที่เหมาะสม
วิธีการคลอด
ทารกมีความผิดปกติทางร่างกายหรือโครโมโซมที่ไม่สามารถมีชีวิตได้หลังคลอด
ผ่าท้องคลอด
การทำงานของรกเสื่อมลง
ผ่าท้องคลอด
ทารกมีขนาดตัวเล็กตามพันธุกรรม
คลอดตามปกติ
ทารกมีความผิดปกติทางร่างกายหรือโครโมโซมที่อาจมีชีวิตได้หลังคลอด
แพทย์อาจพิจารณาชักนำ
การเจ็บครรภ์คลอดหรือผ่าคลอด