Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แพ้ท้องรุนแรง Hyperemesis gravidarum หรือ Prenicious vomiting of pregnancy
แพ้ท้องรุนแรง
Hyperemesis gravidarum หรือ Prenicious vomiting of pregnancy
ความหมาย
อาการคลื่นไส้อาเจียนที่มีอาการรุนแรง ซึ่งคงอยู่นานกว่าปกติ โดยไม่สามารถควบคุมอาการคลื่นไส้อาเจียนได้ โดยอาจพบตั้งแต่สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์จนถึงตลอดการตั้งครรภ์
สาเหตุ
ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน เช่น Estrogen, hCG ที่มีปริมาณมากเกินไป
อายุน้อย
ครรภ์แรก
แฝดน้ำ
การตั้งครรภ์แฝด
ครรภ์ไข่ปลาอุก
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Hyperthyroidism
สาเหตุจากภาวะจิตใจ
ความวิตกกังวล
ความสับสน
ความไม่มั่นคงในบทบาท
การเป็นมารดา
หญิงตั้งครรภ์ที่มีประวัติ
การเจ็บป่วยทางจิต
ผลกระทบ
ผลต่อมารดา
มารดาเกิดภาวะขาดสารน้ำ
เกิดภาวะกรดในกระแสเลือด
มีภาวะขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
สภาพอารมณ์เปลี่ยนแปลง
ร่างกายอ่อนแอต้องนอนโรงพยาบาล
ผลต่อทารก
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
จากการขาดสารอาหารจากการคลื่นไส้อาเจียน
ทารกพิการ
ขาดสารอาหารที่ใช้ในการเจริญเติบโต
ทารกเสียชีวิต
เสียสมดุลอิเล็คโตรลัยต์เป็นเวลานาน
การป้องกัน
ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์โดยเฉพาะ เรื่องการรับประทานอาหารและแบบแผนในการดำเนินชีวิต
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
คลื่นไส้อาเจียนอย่างยาวนาน จนอายุครรภ์ 12 Wks หรือภายใน 12 Wks แรกของการตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย
น้ำหนักตัวลด
ผิวหนังแห้ง
ลิ้นเป็นฝ้า
ริมฝีปากแตก
ปากและฟันสกปรก
ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น
การตรวจร่างกายทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
Hct., BUN สูง
Na, K, Cl ต่ำ
SGOT, LFT สูง
โปรตีนในเลือดต่ำ
การตรวจปัสสาวะ
มีความถ่วงจำเพาะสูง
โปรตีนในปัสาสาวะเพิ่มขึ้น
พบคีโตนในปัสสาวะ
อาจพบน้ำดีในปัสสาวะ ในรายที่รุนแรง
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงมาก
อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ นอนอยู่ในเตียงตลอด
อาเจียนทันทีภายหลังรับประทานอาหารและอาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
เกิดภาวะขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียนติดต่อกันมากกว่า 5-10 ครั้ง/วัน
อาเจียนติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2-4 สัปดาห์
อ่อนเพลียไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
น้ำหนักลดมีอาการขาดสารอาหาร
มีภาวะเลือดเป็นกรด (acidosis)
อาการไม่รุนแรง
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้ง/วัน สามารถทำงานได้ตามปกติ
ลักษณะอาเจียนไม่มีน้ำหรือเศษอาหาร
น้ำหนักตัวลดเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
หญิงตั้งครรภ์สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
การรักษา
ให้ยาแก้อาเจียน
การให้สารน้ำทาง IV
แก้ไขภาวะขาดน้ำ
ขาดสารอาหารรุนแรงให้ Parenteral Nutrition Therapy