Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารจัดการหลักสูตรนานาชาติ ของสถาบันการศึกษาระดับอุมศึกษาในประเทศไทย
การบริหารจัดการหลักสูตรนานาชาติ
ของสถาบันการศึกษาระดับอุมศึกษาในประเทศไทย
บทนำ
ความต้องการเป็นสากลเพื่อให้สามารถก้าวทันโลกโดยใช้ความรู้
การพัฒนาความเป็นนานาชาติของระบบการศึกษาครต้องให้เกิดความสมดุลระหว่างสภาพที่เป็นสากลและเอกลักษณ์ที่มีความหลากหลาย
คำนึงถึงเอกลักษณ์ของประเทศที่ยังต้องคงความเป็นไทย
การส่งเสริมการจัดการหลักสูตรนานาชาติในไทย
โดยใช้แผนพัฒนาอุดมศึกษา ฉบับที่ 2
องค์ประกอบ
ภาพอนาคต
การจ้างงาน
กระจายอำนาจการปกครอง
พลังงานและสิ่งแวดล้อม
ความรุนแรงและการจัดการควมขัดแย้ง
เปลี่ยนแปลงประชากร
เยาวชนและบัณฑิตในอนาคต
เศรฐกิจพอเพียง
เชิงนโยบาย
ธรรมาภิบาลกับการบริหาร
พัฒนาขีดความสามารถเพื่อการแข่งขัน
การจัดการกลุ่มอุดมศึกษา
การเงินอุดมศึกษา
ระบบการพัฒนาบุคลากรอุดมศึกษาภาคใต้
พัฒนานักศึกษาแบบบูรณาการ
แก้ปัญหาอุดมศึกษา
รอยต่อการศึกษาระดับอื่น
โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเรียนรู้
มาตรฐานการศึกษา
เป้าหมาย 3 ระยะ
2555-2559
กยศ.+การเงินขยายผล
นำเข้าผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ
ปรับปรุง LGM phase Il
RAE lI : ร่วมมืออุตสาหกรรม
งบประมาณ 60,000 +ล้าน
สร้างความเข้มแข็งตามพันธกิจ
2550-2554
กยศ.+การเงินนำร่อง
สถาบันพัฒนาบุคลากร
ปรับปรุง LGM phase I
RAE I : วางรากฐาน
แบ่งกล่มมหาวิทยาลัย
งบประมาณ 60,000 ล้าน
2560-2564
งบประมาณอุดมศึกษาเต็มรูปแบบ
พัฒนาผ้เชี่ยวชาญไทย
ปรับปรุง LGM phase Ill
RAE Ill : แข่งขันสากล
ยกระดับอุดมศึกษา
งบประมาณ 60,000 ++ล้าน
การพัฒนาการจัดการหลักสูตรนานาชาติในไทย
มาตรการสร้างความเป็นสากล
รณรงค์ให้มีการจัดหลักสูตรนานาชาติ
ส่งเสริมความร่วมมือนานาชาติ เพื่อพัฒนาความก้าวหน้าด้านวิชาการ
ส่งเสริมการเรียนการสอน การสร้างความร่วมมือนานาชาต
ส่งนักวิชาการไทยไปให้บริการต่างประเทศ
ส่งเสริมให้เรียนรู้ประวัติศาตร์ การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ทำงานในองค์กรระหว่างประเทศได้
หลักสูตรนานาชาติและอัตราการเพิ่มขึ้นของหลักสูตร
2549
:520/55/11.8%
2550
:727/207/39.8%
2551
:844/117/16.1%
2552
:882/40/4.7%
2553
:981/97/10.9%
หลักสูตรระยะสั้น โดย WTO
2.บริการการศึกษาระดับมัธยมศึกษา
3.บริการการศึกษาระดับอุดมศึกษา
1.บริการการศึกษาระดับประถม
4.บริการการศึกษาผู้ใหญ่
5.บริการการศึกษาอื่นๆ
องค์ประกอบหลักสูตรนานาชาติเพื่อการบริหารจัดการ
นักศึกษา
ผู้สอน
หลักสูตร
กิจกรรมนานาชาติ
การบริหารจัดการ
ทรัพยากร
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษาหลักสูตรฯ
แนวปฏิบัติสำหรับหลักสูตรและผู้สอน
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษาในต่างประเทศและการแลกเปลี่ยนนานาชาติ
แนวปฏิบัติสำหรับการพัฒนาการบริหารจัดการและการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก
แนวปฏิบัติสำหรับนักศึกษาต่างชาติและนักวิชาการต่างประเทศ
แนวปฏิบัติสำหรับการให้บริการสังคมและการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม
แนวปฏิบัติในการจัดทำความร่วมมือทางวิชาการและพัฒนาระหว่างประเทศ
การบริหารจัดการหลักสูตรนานาชาติ
ลักษณะของทฤษฏีระบบ
ระบบปิด
ระบบเปิด
มีกระบวนการ
มีปัจจัยป้อนออก
มีปัจจัยป้อนภายนอก
มีวงจร
มีการต่อต้านแนวโน้มสู่ความเสื่่อม
มีข้อมูลย้อนกลับ
มีแนวโน้มสู่ความสมดุล
มีแนวโน้มสู่ความสลับซับซ้อน
มีหลายเส้นทาง
รูปแบบทฤษฎีระบบ
3.ผลลัพธ์
4.การให้ผลย้อนกลับ
2.กระบวนการถ่ายโยง
5.สภาพแวดล้อม
1.ปัจจัยป้อน
สรุป รูปแบบการบริหารจัดการเรียนการสอน
2.รูปแบบการสอนเป็นภาษาอังกฤษ
รับนศ.ต่างชาติมาเรียนร่วมกับนศ.ไทย
3.รูปแบบหลักสูตรนานาชาติ
จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาต่างประเทศ มีนศ.ต่างชาติ 10% ร่วมเรียน
1.รูปแบบการเรียนการสอนภาคภาษาอังกฤษ
นำหลักสูตรภาษาไทยมาเปิดสอนเป็นภาษาอังกฤษ