Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ Oligohydramnios (ผลต่อทารกในครรภ์ :star:…
ภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ Oligohydramnios
ความหมาย
:checkered_flag:
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios) หมายถึง ภาวะที่มีน้ำคร่ำน้อยกว่า 500 ซีซี ขณะตั้งครรภ์ 32 – 36 สัปดาห์ ในภาวะน้ำคร่ำน้อยจะมีน้ำคร่ำประมาณ 100-300 มิลลิลิตร
การรักษา
:<3:
รักษาโรคที่เป็นสาเหตุของน้ำคร่ำน้อย
ติดเครื่องบันทึกสุขภาพทารกในครรภ์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
ผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์ตามนัดเพื่อประเมินจำนวนน้ำคร่ำเป็นระยะ และรักษาตามอาการ
ในกรณีที่ภาวะน้ำคร่ำน้อยจะเป็นอันตรายต่อมารดาและทารก ทารกสามารถมีชีวิตอยู่ได้ พิจารณาช่วยให้คลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ
:warning:
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตผิดปกติ
ความผิดปกติของไตและทางเดินปัสสาวะของทารก
น้ำคร่ำรั่ว หรือเจาะถุงน้ำคร่ำ หรือถุงน้ำแตกก่อนกำหนด
ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ต่างๆ
ครรภ์เป็นพิษ โรคหัวใจและหลอดเลือด ไธรอยด์
การสร้างน้ำคร่ำลดลง
การวินิจฉัย
:check:
การวินิจฉัยจากประวัติและตรวจร่างกาย
มีน้ำเดินทางช่องคลอด มดลูกไม่ค่อยโตขึ้น ความสูงของมดลูกน้อยกว่าอายุครรภ์ การตรวจทางหน้าท้องจะคลำได้ส่วนของทารกได้ง่าย มักจะไม่สามารถทำ ballottement ของศีรษะทารกในครรภ์ได้
การวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
วัดแอ่งลึกที่สุดของน้ำคร่ำSDPแบ่งเป็น รุนแรงน้อย คือวัดได้ 1-2 ซม. รุนแรงมาก วัดได้ น้อยกว่า 1 ซม.
วัดดัชนีน้ำคร่ำAFI แบ่งเป็น ก้ำกึ่งหรือน้อยกว่าปกติ คือวัดได้ 5-8 ซม. น้ำคร่ำน้อยวัดได้น้อยกว่า 5 ซม.
ผลต่อทารกในครรภ์
:star:
ปอดแฟบ
อัตราการผ่าตัดคลอดสูงขึ้น
Potter sequence
ใบหน้าผิดรูป แขนขา และมือเท้าผิดรูป
อาจเกิดฤสายสะดือจะถูกกดทับขณะมดลูกบีบตัว
อัตราการเต้นของหัวใจลดลง (Fetal heart rate deceleration)
เกิดภาวะกรดในเลือดทารก ทำให้ทารกอยู่ในภาวะคับขัน (Fetal distress)
ความผิดปกติของโครโมโซมสูงขึ้น
พบความผิดปกติของร่างกาย
การพิจารณาให้คลอด และกระบวนการคลอด
:pencil2:
ขึ้นกับภาวะแทรกซ้อนที่เป็นสาเหตุหรือที่เกิดร่วมด้วย เช่น preeclampsia, premature rupture of membranes, fetal growth restriction, congenital anomaly, post term pregnancy
อาจพิจารณาให้คลอดเมื่อมี non reassuring fetal testing อายุครรภ์ 37-38 สัปดาห์โดยที่ปากมดลูกยังไม่สุก
แต่ทั้งนี้ถ้ามีการชักนำการคลอดก็จะเพิ่มโอกาสผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ในระยะรอคลอดควรมีการตรวจติดเครื่องตรวจสุขภาพทารกในครรภ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อเฝ้าระวัง fetal heart rate deceleration จากสายสะดือถูกกด
หรืออาจพิจารณาทำ prophylactic transcervical amnioinfusion หรือ ทำเมื่อมี variable fetal heart rate decelerations ซ้ำ ๆ