Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 สถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัย (:star:สถิติสำหรับการวิจัย (:peach:…
บทที่ 9 สถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัย
ความหมาย
ตัวเลขที่แสดงถึงข้อเท็จจริงต่าง ๆ
ปริมาณมากน้อยของวัตถุ
สิ่งของที่นำมาประมวลผลและวิเคราะห์ผลแล้ว
ระเบียบวิธีต่าง ๆ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสำเสนอข้อมูล
การตีความหมาย
:star:
ประเภท
:star:สถิติเชิงบรรยาย
บรรยายลักษณะของข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้
ผลที่ได้ไม่ไปอ้างสรุปกับกลุ่มอื่น
เช่น ปริมาณน้ำฝนเดือน มกราคม ถึง ตุลาคม ของจังหวัด สตูล ปีพ.ศ.2560
:star:สถิติเชิงอ้างอิง
ศึกษากลุ่มตัวอย่างแล้วสรุปผลไปอ้างอิงประชากร
เช่น การสำรวจความพึงพอใจต่อบริการห้องสมุด มรภ.ภูเก็ต 500 คน จาก 3,000 คน
:star:
ระดับการวัด
มาตราเรียงลำดับ
แสดงถึงคุณลักษณะของสิ่งต่างๆ อยู่ในรูปลำดับที่
ลักษณะสำคัญ
จำแนกประเภท
ตัวเลข +,-,*,/ กันไม่ได้
วิธีการทางสถิติ
มัธยฐาน
ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
เปอร์เซ็นต์ไตล์
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อันดับที่
ลำดับที่การเกิด ตำแหน่งการประกวด
มาตราอันตรภาค
ตัวเลขกำหนดแทนปริมาณสื่งของต่าง ๆ
บอกความแตกต่างของสิ่งที่วัด
ลักษณะสำคัญ
ตัวเลข +,-,*,/ กันได้
ไม่มีศูนย์แท้
ระยะห่างแต่ละหน่วยเท่ากัน
วิธีการทางสถิติ
ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความแปรปรวน
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
คะแนนสอบ อุณหภูมิ
:custard:มาตรานามบัญญัติ
:custard:ตัวเลข
หมายเลขห้องเรียน
เป็นสัญลักษณ์แทนเรื่องราวที่เกิด
หมายเลขประจำอาคาร
:custard:ตัวอักษร
อาชีพ ครู เเพทย์ ตำรวจฯลฯ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ฯลฯ
:custard:วิธีการทางสถิติ
การเเจกแจงความถี่
ร้อยละ
ฐานนิยม
ไคสแควร์
:custard:ลักษณะสำคัญ
จำแนกประเภท
ตัวเลข +,-,*,/ กันไม่ได้
:pencil2:อัตราส่วน
:pencil2:ลักษณะสำคัญ
ตัวเลข +,-,*,/ กันได้
ระยะห่างแต่ละหน่วยเท่ากัน
มีศูนย์แท้
:pencil2:วิธีการทางสถิติ
ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความแปรปรวน
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
:pencil2:รายได้ ค่าใช้จ่าย ความลึก ความกว้าง
:star:
สถิติสำหรับการวิจัย
:peach:
ร้อยละ
:peach: นิยมใช้โดยทั่วไป
:peach: เข้าใจง่าย
:peach: แทนด้วย %
:peach: การแปรความหมาย
ยึด 100 เป็นเกณฑ์
การแจกแจงความถี่
ไม่จัดหมวดหมู่
เรียงข้อมูลจากมากไปหาน้อย/น้อยไปหามาก
ขีดรอยคะแนน นับใส่ช่องความถี่
จัดหมวดหมู่
หาพิสัย ความแตกต่างระหว่างคะแนนสูงสุดกับต่ำสุด
กำหนดช่วงคะแนนที่ต้องการ
หาอันตรภาคชั้นของแต่ละชั้น
เขียนชั้นคะแนนในช่องคะแนน
ขีดรอยคะแนน
มีการนำข้อมูลมาจัดระเบียบใหม่ง่ายต่อการวิเคราะห์กลุ่มเดียวกันมีความถี่เท่าใด
ข้อระวัง
ถ้าข้อมูลที่วิเคราะห์น้อยไม่ต้องแจกแจงความถี่ของข้อมูล
การแจกแจงความถี่แต่ละค่าของข้อมูลจมีความน่าเชื่อถือมาก
:cherry_blossom:การวัดแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง
:cherry_blossom:คะแนนเฉลี่ย/ค่าเฉลี่ย
ค่ากลางที่คำนวณได้
รวมกันทุกค่าหารจำนวนค่า
:cherry_blossom:มัธยฐาน
ข้อมูลที่อยู่ต่ำแหน่งกึงกลางของข้อมูล
ต้องเรียงข้อมูลก่อน
บอกถึงจำนวนที่มากกว่าน้อยกว่าค่านี้อยู่ 50%
:cherry_blossom:ฐานนิยม
ข้อมูลที่มีค่าซ้ำกันมากที่สุด
ความถี่ของข้อมูลนั่นสูงเป็นฐานนิยม
:cherry_blossom:การเลือกค่ากลาง
การกระจายของข้อมูลที่หาค่ากลาง
วัตถุประสงค์ของการนำไปใช้
ลักษณะของข้อมูลที่นำมาหาค่ากลาง
ความสะดวกรวดเร็วในการหาค่ากลาง
ความถูกต้องน่าเชื่อถือได้ของค่ากลางที่ต้องการ
:recycle: การวัดการกระจาย
:recycle: พิสัย
:recycle: ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน/ความแปรปรวน
:recycle: การเลือกใช้วิธีการกระจาย
ลักษณะของข้อมูลที่นำมาวัด
ความสะดวกรวดเร็วในการวัด
ความถูกต้องน่าเชื่อถือได้ของค่าการกระจาย
สถิติเชิงอ้างอิง
ระดับนัยสำคัญ
ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้
เกิดความคลาดเคลื่อนน้อยกว่าที่กำหนดก็จะยอมรับสมมติฐานไร้นัยสำคัญ
ขอบเขตวิกฤต
ขอบเขตที่จะปฎิเสธสมมติฐานไร้นัยสำคัญ
กำหนดตามนัยสำคัญที่อ้างไว้
สถิติที่ใช้ทดสอบค่าเฉลี่ย
การทดสอบค่าเฉลี่ยในหนึ่งตัวอย่าง
การทดสอบค่าเฉลี่ยในสองตัวอย่าง
สถิติที่ใช้ทดสอบความแปรปรวน
การทดสอบสมมติฐาน
ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากรสองกลุ่ม
:fire:สหสัมพันธ์
:fire:หาความสัมพันธ์ของ 2 ตัวแปร ขึ้นไป
:fire:การพิจารณาความสัมพันธ์ของตัวแปร
มีค่า - ตัวแปรมีความสัมพันธ์กันทางลบ
มีค่า 0 หรือเข้าใกล้ 0 ตัวแปรมีแนวโน้มไม่สัมพันธ์กัน