Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (:arrow_upper_left:ขั้นตอนการเลือกตัวอย่าง…
บทที่ 8 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
:cherry_blossom:
ความหมาย
:cherry_blossom:ประชากร
ประชากรจำนวนจำกัด
จำนวนที่ครบถ้วน
นับทุกหน่วยที่สามารถนับได้
ประชากรจำนวนไม่จำกัด
ไม่สามารถนับจำนวนได้
ใช้เวลานานในการนับ
คือ
มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
ต้องการศึกษาทั้งหมด
สมาชิกทุกหน่วย
ในเขตของการวิจัย
:cherry_blossom:กลุ่มตัวอย่าง
สมาชิกบางหน่วยที่เลือกมา
เป็นตัวแทนของประชากรทั้งหมด
รวบรวมข้อมูลจากสมาชิกตัวแทนอ้างอิงไปยังประชากร
:cherry_blossom:การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการเลือกตัวแทน
การกระทำได้มาซึ่งตัวแทนจากประชากรทั้งหมด
:stopwatch:
ลักษณะกลุ่มตัวอย่างที่ดี
:stopwatch:ประชากรทั้งหมดมีโอกาสถูกเลือกเท่าเทียมกัน
:stopwatch:ใช้วิธีการสุ่ม/เลือกอย่างไม่ลำเอียง
:stopwatch:กลุ่มตัวอย่างงมีขนาดใหญ่เพียยงพอ
:stopwatch:เป็นตัวแทนที่ดีสำหรับวิจัยได้
:stopwatch:มีจำนวนใกล้เคียงประชากรมากลดความคลาดเคลื่อน
:!:เหตุผลการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
:!:มีโอกาสเขาถึงข้อมูลจากตัวแทนละเอียด
:!:ข้อมูลคลอบคลุมมากกว่าเก็บข้อมูลทั้งหมด
:!:ข้อมูลที่ได้เป็นปัจจุบัน
:!:นำไปใช้ประโยชน์ได้ทันเวลา
:!:ประหยัดค่าใช้จ่าย
:!:ประหยัดเวลาในการลงพื้นที่
:arrow_upper_left:
ขั้นตอนการเลือกตัวอย่าง
:arrow_upper_left:การสุ่มกลุ่มตัวอย่างให้เป็นตัวแทนที่ดี
:arrow_upper_left:ประชากรลักษณะเอกพันธ์
มีลักษณะเหมือนกัน
คล้ายคลึงกัน
ได้ผลที่เหมือนกัน
ใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก
:arrow_upper_left:ประชากรลักษณะวิวิธพันธ์
มีลักษณะแตกต่างกัน
ใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่
ได้ผลที่ไม่ค่อยเหมือนกัน
:arrow_upper_left:วิเคราะห์วัตถุประสงค์การวิจัยละเอียด
เรื่อง ?
ใคร ?
ที่ไหน ?
เมื่อไร ?
:arrow_upper_left:นิยามประชากรเป้าหมาย
ศึกษา ?
มีลักษณะ ?
ขอบเขตกว้างแคบ ?
:arrow_upper_left:กำหนดหน่วยของกลุ่มตัวอย่าง
ระบุหน่วยที่เล็กที่สุดของประชากร
ขึ้นอยู่กับประชากรที่ต้องการศึกษา
:arrow_upper_left:กำหนดกรอบการสุ่ม
การรวบรวมบัญชี
จัดทำรายละเอียดของประชากรทั้งหมด
:arrow_upper_left:กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
กำหนดขนาด
มากพอกับการศึกษาเก็บข้อมูล
:arrow_upper_left:กำหนดวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
พิจารณาแลตัดสินวิธีสุ่ม
วิธีที่เหมาะสมกับคุณลักษณะประชากร
ค่าใช้จ่าย ระยะเวลา กำลังคนรวบรวมข้อมูล
:cyclone:
ประเภทการเลือกตัวอย่าง
:cyclone: การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยเชิงคุณภาพ
แสวงหาความรู้
เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
สภาพแวดล้อม บริบทที่เกิดขึ้น
อธิบายความสัมพันธ์
ความจริงของปรากฎการณ์
:cyclone: การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยเชิงปริมาณ
:cyclone: ใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น
:cyclone: สุ่มมอย่างง่าย
โอกาสถูกเลือกเท่ากัน
รู้จำนวนประชากรขนาดเล็ก
จับฉลาก
สุ่มไม่คืน
ใสคืน
ใช้ตารางสุ่ม
:cyclone: เป็นระบบ
ทราบขนาดประชากรที่แน่นอน
เรียงลำดับเป็นระบบ
:cyclone: แบ่งกลุ่ม
ประชากรขนาดใหญ่ กระจายทุกพื้นที่
ไม่จำเป็นต้องเลือกทุกกลุ่ม
:cyclone: แบ่งชั้นภูมิ
สุ่มแต่ละหน่วยประชากร
ที่มีลักษณะแตกต่างกัน
:cyclone: หลายขั้นตอน
แบ่งประชากรเป็นส่วนๆ
ทำการเลือกสุ่ม อย่างง่าย
:cyclone: ไม่ใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น
กำหนดสัดส่วน
กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
ตามลักษณะที่ต้องการ
เลือกตามสัส่วนของกุ่มตัวอย่าง
เลือกแบบเจาะจง
เลือกจากประชากรจำนวนน้อย
มีลักษณะจำเพาะ
บังเอิญ
ไม่มีกฏเกณฑ์ในการสุ่ม
เก็บข้อมูลจากใครก็ได้ที่ยินดีให้เก็บข้อมูล
ลูกโซ่
กลุ่มตัวอย่างมีลักษณะตรงตามวัตถุประสงค์
เก็บข้อมูลแล้วให้แนะนำบุคคลอื่น
:bulb:
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
:bulb: ขึ้นอยู่กับ
ขนาดของประชากร
ธรรมชาติของประชากร
ระดับความถูกต้องแม่นยำ
ประเภทงานวิจัย
ค่าใช้จ่าย
:bulb: วิธีกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
:bulb: ใช้เกณฑ์ร้อยละ
ทราบจำนวนประชากรแน่นอน
คำนวณขนาดกลุ่ม
:bulb: ใช้ตารางสำเร็จรูป
วิธีการที่นักสถิติคำนวณไว้
เทียบขนาดประชากรกับตาราง
:bulb: ใช้สูตรคำนวณ
เหมาะกับจำนวนประชากรไม่ตรงกับตาราง
ใช้สูตรของยามาเน่