Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์ของสตรีที่มีอายุมาก Elderly gravidalum (ข้อบ่งชี้…
การตั้งครรภ์ของสตรีที่มีอายุมาก Elderly gravidalum
ผลกระทบจากการตั้งครรภ์
ต่อมารดา
ความดันโลหิตสูง
รกเกาะต่ำ
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
คลอดยากต้องผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
เสี่ยงต่อการแท้ง
ภาวะตกเลือดหลังคลอด
ความหมาย
สตรีทีีมีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป มีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น โดยนับตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงคลอด
ต่อทารก
พิการตั้งแต่กำเนิด
Edward’s syndrome (ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 18 เกิน Trisomy 18 )
Patau’s syndrome (ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 13 เกิน Trisomy 13)
Down’s syndrome (ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21 เกิน Trisomy 21)
ความผิดปกติอื่นๆที่เป็น autosomal trisomies และ triploidy
คลอดก่อนกำหนด และอาจเกิด Fetal distress
มีภาวะ น้ำตาลในเลือดต่ำหลังคลอด
การตรวจเพื่อคัดกรองทารกที่ผิดปกติ
การเจาะน้ำคร่ำ และนำเซลล์ที่เจาะได้จากน้ำคร่ำมาตรวจหาทางพันธุกรรม ซึ่งวิธีนี้ถึงจะมีความแม่นยำมากที่สุด แต่ก็มีความเสี่ยง ในเรื่องของการแท้งบุตรได้ 0.5% ทำให้คุณแม่บางคนมีความลังเลที่จะเจาะน้ำคร่ำ
การเจาะเลือดจากแม่ โดยหลักการจะเป็นการหาเซลล์ของทารก ที่หลุดออกมาและผ่านตัวรกเข้าสู่กระแสเลือดของแม่ เซลล์นี้จะสามารถตรวจพบได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 7 สัปดาห์และจะเพิ่มมากขึ้นเมื่ออายุครรภ์มากขึ้น ความเสี่ยงน้อย แต่ค่าใช้จ่ายสูง
การทำ triple screening หรือ quadruple screening เป็นการหาสารชีวเคมีในร่างกายแม่ เทียบกับค่าของสตรีตั้งครรภ์ปกติ
ลดผลกระทบจากตั้งครรภ์
เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
คุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตรวจสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์และฝากท้องตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
รับประทานวิตามิน โฟลิก 400 มิลิกรัมต่อวัน
ข้อบ่งชี้
มีประวัติบุตรคนก่อนเป็นทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติ
เคยตรวจคัดกรองด้วยวิธีอื่น เช่น triple หรือ quadruple test แล้วพบว่าทารกมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโครโมโซมผิดปกติ
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุ ≥ 35 ปี
สตรีตั้งครรภ์หรือสามีตรวจพบเป็น balanced Robertsonian translocation ของโครโมโซมคู่ที่21หรือ13
มีหลักฐานจาก ultrasound พบว่าทารกมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโครโมโซมผิดปกติ