Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นายสมประสงค์ เอ็มดู 6006510077 (บทที่ 3 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์…
นายสมประสงค์ เอ็มดู 6006510077
:red_flag:บทที่ 1 ความรู้เบื่อต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ทฤษฎี
ความหมาย และคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง
อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์สร้างขึ้น
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการคำนวณหรือ
ประมวลผล และจัดการกับข้อมูล ทั้งตัวเลข ตัว
อักษร
จะทำงานตามโปรแกรมที่วางเอาไว้ และ
ประมวลผลลัพธ์ตามที่ต้องการได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ
ความเร็ว (Speed)
ความเชื่อถือได้ (Reliable)
ความถูกต้องแม่นยำ (Accurate)
เก็บข้อมูลได้มาก (Store massive
amounts of information)
เคลื่อนย้ายข้อมูลได้รวดเร็ว (Move
information)
ส่วนประกอบที่สำคัญของคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์
ลักษณะทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซึ่งหมายถึง
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้าง
ที่เกี่ยวข้องและสามารถจับต้องได้
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์มี 4 อย่าง
คือ (IPOS Cycle)
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
หน่วยประมวลผล (CPU : Central
Processing Unit)
ซอฟท์แวร์
คำสั่งหรือโปรแกรมจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษา
คอมพิวเตอร์
และมีโปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียน
ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application
Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
เป็นโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงาน
ต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดทำ
เอกสาร การทำบัญชี ตลอดจนด้านอื่นๆ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
มีหน้าที่ ติดต่อ และควบคุม ส่วนประกอบ
ของ ฮาร์ดแวร์ทั้งหมด เช่น
การนำข้อมูลมาแสดงทางจอภาพ เช่น จาก
ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
การเก็บข้อมูลลง ในแผ่น Diskette หรือ ใน
ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
และมีหน้าที่ แปลข้อมูลต่างๆ ให้เป็นภาษาเครื่อง
Machine Language
พีเพิลแวร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ.2173 ] วิลเลียม ออตเทรต (William
Oughtred) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์
ไม้บรรทัดคำนวณ (Slide Rule)
พ.ศ.2185 ] เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นัก
คณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์ เครื่อง
บวกลบ โดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟือง
พ.ศ. 2158 ] จอห์น เนเพีย (John Napier) นัก
คณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่
ใช้ช่วยในการคำนวณขึ้นมา เรียกว่า Napier’s
Bones มีลักษณะคล้ายกับตารางสูตรคูณใน
พ.ศ.2288 ] โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด (Joseph Marie
Jacquard) เป็นชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์ เครื่องทอผ้า
ประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล ] ชาวจีนได้
ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณขึ้นมาชนิด
หนึ่ง เรียกว่า ลูกคิด ( Abacus)
พ.ศ.2365 ] ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage)
นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์ เครื่องหาผล
ต่าง (Difference Engine) เพื่อใช้คำนวณ
ชาร์ล แบบเบจ ได้พยายามสร้าง เครื่อง
คำนวณอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า Analytical
Engine โดยมีแนวคิดให้แบ่งการทำงานของ
เครื่องออกเป็น 3 ส่วนคือ
ส่วนเก็บข้อมูล (Store unit)
ส่วนควบคุม (Control unit)
ส่วนคำนวณ (Arithmetic
ซึ่งแนวคิดนี้ได้รับการนำมาใช้เป็นต้นแบบของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จึงได้รับการยกย่อง
ให้ ชาร์ล แบบเบจ เป็นบิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์
เลดี้ เอดา ออคุสตา เลฟเลค ( Lady Ada Augusta
Lovelace ) เป็นนักคณิตศาสตร์ที่เข้าใจผลงาน
ของชาร์ล แบบเบจ ได้เขียนวิธีการใช้เครื่องคำนวณ
ของชาร์ล แบบเบจ เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
เล่มหนึ่ง
ต่อมาจึงได้รับการยกย่องให้ เอดา เป็นโปรแกรม
เมอร์คนแรกของโลก
พ.ศ.2393 ] ยอร์จ บูล ( George Boole) นัก
คณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คิดระบบ พีชคณิต
ระบบใหม่เรียกว่า Boolean Algebra โดยใช้
อธิบายหลักเหตุผลทางตรรกวิทยาโดยใช้
สภาวะเพียงสองอย่าง คือ True (On) และ
False (Off) ร่วมกับเครื่องหมายในทางตรรกะ
พื้นฐาน ได้แก่ NOT, AND และ OR
ต่อมาระบบเลขฐานสอง และ Boolean
Algebra ก็ได้ถูกนำมาดัดแปลงให้เข้ากับ
วงจรไฟฟ้า ซึ่งมีสภาวะ 2 แบบ คือ เปิด , ปิด
จึงนับเป็นรากฐานของการออกแบบวงจรใน
พ.ศ.2480-2481 ] ดร.จอห์น วินเซนต์ อตา
นาซอฟ ( Dr.Jobn Vincent Atansoff) และ ค
ลิฟฟอร์ด แบรี่ ( Clifford Berry) ได้ประดิษฐ์
เครื่อง ABC (Atanasoff-Berry) ขึ้น โดยได้
นำหลอดสุญญากาศมาใช้งาน ABC
พ.ศ.2487 ] ศาสตราจารย์โอเวิร์ด ไอด์เคน (Howard
Aiken) แห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ร่วมกับวิศวกรของ
บริษัทไอบีเอ็มได้สร้าง เครื่อง MARK I เป็นผลสำเร็จ แต่
อย่างไรก็ตามเครื่อง MARK I นี้ยังไม่ใช่คอมพิวเตอร์ที่แท้
จริงแต่เป็นเครื่องคิดเลขไฟฟ้าขนาดใหญ่เท่านั้น
พ.ศ.2485-2495 ] มหาวิทยาลัยเพนซิลเลเนียได้สร้าง
เครื่อง ENIAC (Electronic Numerical Integrator
And Calculator) นับได้ว่าเป็นเครื่องคำนวณ
อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลกที่ใช้หลอดสูญญากาศ
และควบคุมการทำงานโดยวิธีเจาะชุดคำสั่งลงในบัตรเจาะรู
พ.ศ.2492 ] ดร.จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ( Dr.John
Von Neumann ) ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถ
เก็บคำสั่งการปฏิบัติงานทั้งหมดไว้ภายในเครื่อง ชื่อว่า
EDVAC นับเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่สามารถเก็บ
โปรแกรม
UNIVAC (Universal Automatic Computer) เป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิง
ธุรกิจ
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (LSI : Large
Scale Integrated Circuit)
ยุคแผงวงจรรวม (IC : Integrated Circuits)
ยุคทรานซิสเตอร์ (TR : Transistors)
ยุคหลอดสูญญากาศ (Vacuum Tube )
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
เมนเฟรม (Mainframe)
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer)
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro computer)
แท็บเล็ต (Tablet)
คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Embedded
Computer)
:red_flag:บทที่ 2 ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
หน่วยความจำหลัก
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจำข้อมูล และ
โปรแกรมต่างๆที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์
หน่วยความจำหลักแบ่งได้สองประเภท คือ
RAM (Random Access memory)
แบบเก็บข้อมูลชั่วคราว เก็บข้อมูลอยู่ได้ แต่
ต้องมีไฟเลี้ยง
ROM (Read Only Memory)
แบบเก็บข้อมูลถาวร เก็บข้อมูลอยู่ได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
หน่วยรับข้อมูล
ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก
ปัจจุบันมีอยู่มากมาย เช่น
อุปกรณ์แบบกด = แป้นพิมพ์ (Keyboard)
อุปกรณ์ชี้ตำแหน่ง = เมาส์ (Mouse),, จอยสติ๊ก
(Joystick)
จอภาพระบบไวต่อการสัมผัส = จอภาพสัมผัส
(Touch Screen)
อุปกรณ์บันทึกภาพ = กล้องดิจิตอล (Digital
Camera)
ระบบกวาดข้อมูล = สแกนเนอร์ (Scanner)
อุปกรณ์รู้จำเสียง = ไมโครโฟน (Microphone)
ประเภทของ RAM (Random
Access memory)
DRAM (Dynamic
RAM)
แบบ EDO
แบบ SDR
แบบ DDR , DDR2,
DDR3
SRAM (Static RAM)
หน่วยความจำแคช
(Cache memory)
หน่วยแสดงผล
หน่วยแสดงผล คือ อุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์จาก
คอมพิวเตอร์
แบ่งได้เป็นสองแบบ คือ
หน่วยแสดงผลชั่วคราว
จอภาพ (Monitor)
ลำโพง (Speaker)
โปรเจ็คเตอร์ (Projector)
หน่วยแสดงผลถาวร
เครื่องพิมพ์ (Printer)
พล็อตเตอร์ (Plotter)
หน่วยประมวลผลกลาง
ซีพียู (CPU : Central Processing Unit)
เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์ เป็นตัว
กำหนดความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอร์ CPU
รุ่นใหม่ๆจะมีขนาดเล็กลงแต่ความเร็วเพิ่มขึ้น
วงจรภายในหน่วยประมวลผลกลางเรียกว่า
ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor)
ประกอบด้วยหน่วยสำคัญสองส่วนคือ
หน่วยควบคุม ( CU : Control Unit)
หน่วยคำนวณและตรรกะ(ALU : Arithmetic and
Logic Unit)
หน่วยแสดงผล
ประเภทของจอภาพ
จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube)
เป็นจอภาพที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มี
หลักการทำงานแบบเดียวกับจอโทรทัศน์ ทำงาน
โดยใช้กระแสไฟฟ้าแรงสูง (high voltage)
คอยกระตุ้นให้อิเล็กตรอนภายในหลอดภาพแตก
ตัวอิเล็กตรอนดังกล่าวจะทำให้เกิดลำแสง
อิเล็กตรอนไปกระตุ้นผลึกฟอสฟอรัสที่ฉาบอยู่บน
หลอดภาพ เมื่อฟอสฟอรัสถูกกระตุ้นจาก
อิเล็กตรอนจะเกิดการเรืองแสงและปรากฏเป็นจุด
สีต่างๆ (RGB Color) ซึ่งรวมเป็นภาพบนจอ
จอภาพแบบแบน LCD (Liquid Crystal Display)
จอภาพผลึกเหลวส่วนใหญ่ มี 2 ประเภท ได้แก่
Active Matrix
จอภาพสีสดใสมองเห็นจากหลายมุม เนื่องจากให้ความสว่าง
มาก และสีสันในอัตราที่สูง มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า TFT – Thin
Film Transistor และราคาของจอประเภทนี้สูง
Passive Matrix
จอภาพสีค่อนข้างแห้ง เนื่องจากมีความสว่างน้อย ทำให้ไม่
สามารถมองจากมุมมองอื่นได้ นอกจากมองจากมุมตรง เรียก
อีกชื่อหนึ่งว่า DSTN (Double Super Twisted Nematic)
จอภาพแบบแบน LCD (Liquid Crystal Display)
จอ LCD เริ่มจากการพัฒนามาใช้กับนาฬิกาและ
เครื่องคิดเลข เป็นจอแสดงผลตัวเลขขนาดเล็ก ใช้
หลักการปรับเปลี่ยนโมเลกุลของผลึกเหลว เพื่อปิดกั้น
แสงเมื่อมีสนามไฟฟ้าเหนี่ยวนำ LCD จึงใช้กำลังไฟฟ้า
ต่ำ มีการสร้างทรานซิสเตอร์เป็นล้านตัวเพื่อควบคุมจุด
สีบนแผ่นฟิล์มบาง ๆ ให้จุดสีเป็นตารางสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ
การแสดงผลจึงเป็นการแสดงจุดสีเล็ก ๆ ที่ผสมกันเป็นสี
ต่าง ๆ ได้มากมาย การวางตัวของจุดสีดำเล็ก ๆ เรียกว่า
แมทริกซ์ (matrix) จอภาพ LCD จึงเป็นจอแสดงผล
แบบตารางสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่มีจุดสีจำนวนมาก
Resolution
คือความละเอียดของการแสดงภาพ หรือการสแกนภาพ
ออกมาได้ความละเอียดมากเท่าไร ความสามารถในการ
แสดงภาพได้ละเอียดมากขนาดไหนนั้นขึ้นอยู่กับประเภท
ของจอภาพ
เช่น จอ VGA จะแสดงภาพได้ละเอียดน้อยกว่าจอ
SVGA ยิ่งกำหนดความละเอียดในการแสดงสีมากเท่าไร
ภาพจะละเอียดมากขึ้น
Hardware
หมายถึง
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบ
ข้างที่เกี่ยวข้องต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย
ส่วนสำคัญคือ หน่วยประมวลผลกลาง,
หน่วยความจำหลัก, หน่วยรับข้อมูล, หน่วย
แสดงผล, หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลในรูปของเลข
ฐานสอง มี 0,1
ชนิดของหน่วยความจำสำรอง
เทปแม่เหล็ก (Tape)
ดิสก์แม่เหล็ก (Magnetic disk)
ออปติคัลดิสก์
หน่วยเก็บข้อมูลแบบแฟลช
ป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้กันมานานตั้งแต่
คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งและยุคที่สอง ปัจจุบัน
ได้รับความนิยมน้อยลง เทปแม่เหล็กมี
หลักการทำงานคล้ายเทปบันทึกเสียง แต่
เปลี่ยนจากการเล่น (Play) และบันทึก
(Record) เป็นการอ่าน (Read) และเขียน
(Write) แทน
เก็บข้อมูลได้มาก เคลื่อนย้ายสะดวก
สามารถบันทึกข้อมูลซ้ำได้ ทำให้ประหยัด
ความเร็วในการถ่ายเทข้อมูล (Transfer Rate)
ต้องเริ่มอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้นม้วน (Sequential
Access)
ต้องระวังในการจับถือ (สิ่งสกปรก รอยนิ้วมือ
และการชำรุดแตกหัก)
สถานที่เก็บต้องเหมาะสม ระวังเรื่องฝุ่น อุณหภูมิ
และสนามแม่เหล็ก
อ่านข้อมูลได้ช้า
จานแม่เหล็กสามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวน
มาก และมีคุณสมบัติใน
การ เข้าถึงข้อมูลโดยตรง ไม่จำเป็นต้องอ่านไป
ตามลำดับเหมือนเทป
ช่วยลดความผิดพลาดทางการผลิต
มีความเที่ยงตรงในการทำงานมากขึ้น
มีความทนทานต่อแรงสั่นสะเทือน
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุด
คำสั่งที่พัฒนาขึ้นมาและสั่งการโดยมนุษย์
เพื่อให้ฮาร์ดแวร์หรืออุปกรณ์ต่างๆ ทำงาน
อย่างเป็นขั้นเป็นตอน และได้ผลลัพธ์การ
ทำงานตามที่มนุษย์หรือผู้ใช้ต้องการ
ซอฟต์แวร์ หมายถึง ส่วนของ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือกระบวนการ
ในการทำงาน ตลอดจนเอกสารประกอบที่
เกี่ยวข้องในระบบประมวลผลข้อมูลแบบ
อิเล็กทรอนิกส์
การทำงานของระบบ
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทำงานด้วยภาษาเครื่อง (Machine
Language)
ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ใช้การส่งสัญญาณในรูปของแรง
กระตุ้นเป็นตัวเลข (Digital pulse)
แรงดันไฟฟ้าสูง (เปิด) และต่ำ (ปิด) ซึ่งใช้ 1 และ 0 แทน
ได้
ระบบจำนวนที่มีเลขนับอยู่ 2 ตัวเลข (0 และ 1) เรียกว่า
ระบบไบนารี (Binary system)หรือเลขฐานสอง
หน่วยความจุของข้อมูล
บิต (bit) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของคอมพิวเตอร์ เป็นค่าตัว
เลขตัวหนึ่ง ได้แก่ 0 หรือ 1
ไบต์ (byte) เป็นกลุ่มของบิตที่รวมกันเพื่อแทนสัญลักษณ์
ต่างๆ
8 บิต เป็น 1 ไบต์ (11110000 Bit = 1 Byte)
กิโลไบต์ (Kilobyte) ใช้ตัวย่อว่า KB มีค่าเท่ากับ 1,024
ไบต์ หรือประมาณ 1,000 ไบต์ เทียบเท่ากับตัวอักษร
ประมาณ 1,000 ตัว หรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ
หน่วยความจุของข้อมูล
เมกกะไบต์ (Megabyte ตัวย่อคือ MB) จะมีค่าประมาณ
1,000 กิโลไบต์ หรือประมาณ 1 ล้านไบต์ เทียบเท่ากับ
ตัวอักษรประมาณ 1 ล้านตัว หรือประมาณหนังสือ 1
เล่ม
จิกะไบต์ (Gigabyte) หรือ ใช้ตัวย่อว่า GB โดยจะมีค่า
ประมาณ 1,000 เมกกะไบต์หรือประมาณ 1 พันล้าน
ไบต์เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 พันล้านตัวหรือ
ประมาณหนังสือที่ถูกบรรจุอยู่ในตู้หนังสือจำนวน 1 ตู้
วิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์
(Computer Language)
เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารโดยใช้เลขฐานสอง
เท่านั้น (0,1)
ภาษาที่ใช้เฉพาะเลขฐานสองในคอมพิวเตอร์
เรียกว่า ภาษาเครื่อง
การเรียนรู้ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นยากมาก
ดังนั้นจึงมีผู้คิดค้นภาษาสำหรับติดต่อสื่อสาร
ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ เรียกว่า ภาษา
คอมพิวเตอร์
มีการกำหนดระดับของภาษาคอมพิวเตอร์
ว่าเป็นภาษาระดับสูงหรือระดับต่ำ จะขึ้นกับว่า
ภาษานั้นใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์(ใกล้เคียง
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์
สามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ได้ 5 ระดับคือ
ภาษาเครื่อง
ภาษาแอสเซมบลี (ภาษาระดับต่ำ)
ภาษาระดับสูง เช่น JAVA,COBOL,Pascal,
C,C++…
ภาษาระดับสูงมาก เช่น SQL
ภาษาธรรมชาติ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System
Software)
โปรแกรมทุกโปรแกรมที่ทำหน้าที่ติดต่อกับ
ส่วนประกอบต่างๆ ของฮาร์ดแวร์ และอำนวย
เครื่องมือสำหรับทำงานพื้นฐานต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ เช่น การแสดงรายชื่อ
แฟ้มที่เก็บในหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง, การ
แสดงผลออกทางจอภาพ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ระบบการประกอบด้วยซอฟต์แวร์
2 ประเภทคือ
ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
(Operating System)
จัดการส่วนประกอบต่างๆ ของระบบ
คอมพิวเตอร์ เช่น CPU หน่วยความจำ ที่
เก็บข้อมูลสำรอง
จัดการงานในส่วนของการติดต่อผู้ใช้
ให้บริการโปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
(Translator)
ทำหน้าที่ในการแปลง ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาต่างๆ
ให้เป็นภาษาเครื่อง
โปรแกรมที่แปลงจากโปรแกรมต้นฉบับ
แล้วจะเรียกว่า
ออปเจ็คโค้ด (Object code) ซึ่งประกอบไป
ด้วยรหัสคำสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจ
และนำไปปฏิบัติได้ต่อไป
รูปแบบของตัวแปลภาษา
(Translators)
แอสแซมเบลอ (Assembler)
เป็นตัวแปลภาษาแอสเซมบลีซึ่งเป็นภาษาระดับ
ต่ำให้เป็นภาษาเครื่อง
อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดย
ใช้หลักการแปลพร้อมกับทำงานตามทำงานตาม
คำสั่งทีละบรรทัด
คอมไพเลอร์ (Compiler)
เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง แต่
จะใช้วีธีแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นออ
บเจ๊คโค้ด ก่อนที่จะสามารถนำไปทำงานเช่น
INTERPRETER
แปลภาษาระดับสูงทั่วไป JAVA , Pascal,
Cobol ….
แปลทีละคำสั่ง แล้วทำงานทันที
คำแปลที่ได้ (Object code) ไม่สามารถเก็บ
ไว้ใช้ได้
ต้องแปลใหม่ทุกครั้งที่มีการเรียกใช้งาน
COMPILER
แปลภาษาระดับสูงทั่วไป JAVA , Pascal,
Cobol ….
แปลทีละโปรแกรม แปลเสร็จแล้วจึงทำงาน
คำแปลที่ได้ (Object code) สามารถเก็บไว้
ใช้ได้
สามารถเรียกใช้ Object ที่เก็บไว้ได้ ไม่ต้อง
แปลใหม่ทุกครั้งที่มีการเรียกใช้
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
เป็นโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำ
งานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นด้าน
การจัดทำเอกสาร การทำบัญชี ตลอดจนด้าน
อื่นๆ
แบ่งได้ 2 ประเภทคือ
ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special
Purpose Software)
ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป (General
Purpose Software)
ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป
เป็นซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาสำหรับงาน
ทั่วไป สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานของ
องค์กรหรืองานส่วนตัวได้อย่างหลากหลาย
สามารถแบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี้
ซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์อิเล็กทรอนิกส์
ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ
ซอฟต์แวร์นำเสนอ
ซอฟต์แวร์กราฟิก
ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล