Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โนรีย์ตา ปูตะ รหัส6006510104 (บทที่ 6 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย…
โนรีย์ตา ปูตะ รหัส6006510104
บทที่5 ไวรัสคอมพิวเตอร์
1.ความหมายไวรัสคอมพิวเตอร์ โปรแกรมชนิดหนึ่งซึ่งถูกเขียนขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายที่สร้างผลลัพธ์ที่ไม่เพึงประสงค์ไห้กับระบบคอมพิ วเตอร์
2.ช่องทางในการแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์
2.1 หน่วยความจำสำรอง โดยผ่านการใช้งานจาก handy drive แผ่นซีดี ที่มีโปรแกรมไวรัสอยู่
2.2 ระบบเครือข่าย โดยการรับหรือคัดลอกแฟ้มผ่านระบบเครือข่ายรวมทั้งการรับจดหมายอีเมล์ที่มีแฟ้มไวรัสแนบมาด้วย
3.ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
3.1 ไฟล์ไวรัส
3.2 บูตเซกเตอร์ไวรัส
3.3 หนอนคอมพิวเตอร์
วิธีการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
การแก้ปัญหาเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์มีไวรัส
โปรแกรมป้องกันไวรัสจาก Flash Drive
โปรแกรมตรวจสอบและกำจัดไวรัส
บทที่ 6 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย
การสื่อสารข้อมูล
ใช้ข้อมูลในไฟล์ร่วมกัน
ความง่ายในการดูแลระบบ
ใช้ทรัพยากรร่วมกัน
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ข้อมูล
สามารถแบ่งได้เป็น 5
องค์ประกอบ
ผู้ส่ง (Sender)
ผู้รับ (Receiver)
ข่าวสารหรือข้อมูล
(Message)
สื่อกลาง (Media)
โปรโตคอล
(Protocol)
ชนิดของสัญญาณ
และทิศทาง
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
การประมวลผลกับการ
สื่อสารข้อมูล
คอมพิวเตอร์
เน็ตเวิร์กการ์ด (Network Interface
Card
-
สื่อกลาง หรือ ช่องทางในการสื่อสาร
ข้อมูล (Medium)-
โปรโตคอล (Protocol)-
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network
สื่อกลาง หรือช่องทาง
ในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางประเภทไร้สาย
สื่อกลางประเภทมีสาย
สื่อกลางประเภทมีสาย
บริการหลักของ (NOS : Network Operating
System)
บริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ (File and
Print Services
บริการดูแลและจัดการระบบ
(Management Servic- บริการรักษาความปลอดภัย (Security
Services)
บริการอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต
(Internet/Intranet Services)
อุปกรณ์เครือข่าย
รีพีตเตอร์
บริดจ์
เกตเวย์
สวิตซ์
ฮับ
เราเตอร์
ประเภทของระบบเครือ
ข่าย
ระบบเครือข่ายท้องถิ่น
ระบบเครือข่ายระดับเมือง
ระบบเครือข่ายระดับประเทศ
บท ที่7 เทคโนโลยีและสารสนเทศ
1)เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง
กระบวนการต่างๆ และระบบงานที่ช่วยให้
ได้สารสนเทศที่ต้องการ โดยจะรวมถึง
เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ
คุณสมบัติของสารสนเทศ 1.มีความถูกต้องชัดเจน
ตรงกับความต้องการ
2.มีความกะทัดรัด ปริมาณพอเพียง
เป็นปัจจุบัน ทันสมัย
3.สะดวก รวดเร็ว ทันต่อการใช้งาน
เชื่อถือได้
4.เป็นระบบต่อเนื่องในการนำมาใช้งานที่ดี
.กระบวนการของระบบ
สารสนเทศขั้นเก็บข้อมูล
1.ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
2.ขั้นรายงาน
3.ขั้นเผยแพร่
4.ขั้นนำไปใช้
2)ระบบสารสนเทศในปัจจุบัน
2.1 ระบบประมวลผลรายจะให้สารสนเทศสำหรับระดับปฏิบัติการ
เท่านั้น
มีการใช้งานแยกจากกันในแต่ละฝ่าย
ไม่มีความยืดหยุ่น
ไม่ตอบสนองทันทีทันใด ต้องรอให้ถึงเวลา
สรุป
เช่น เจ้าหน้าที่ทำการป้อนข้อมูลในระบบการ
จองตั๋วเครื่องบินการ
2.2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัด
ควบคุม/ตรวจสอบการดำเนินงาน
วางแผน
*ตัดสินใจ
2.3 ระบบสนับสนุนการตัดสินช่วยให้การตัดสินใจของผู้บริหารเป็นไปได้
อย่างสะดวก และง่ายต่อการเรียนรู้ และการใช้
งาน
สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ
มีข้อมูลและแบบจำลองสำหรับสนับสนุนการ
ตัดสินใจที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะ
ของปัญหา
มีความยืดหยุ่นที่จะสนองความต้องการที่
เปลี่ยนแปลงไปใจ
2.4 ระบบผู้เชี่ยวชาเกี่ยวข้องกับการจัดการ ความรู้ (Knowledge)
มากกว่าสารสนเทศ
ใช้หลักการทำงานด้วย ระบบปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence) เช่น Neural
Network
ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่งญ
ตัวอย่างของ (Expert Systems)
ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ
1) ด้านการแพทย์ 2) ด้านการผลิ3) ด้านธรณีวิทยา 4) ด้านกระบวนการผลิต 5) ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตร
เครดิต
2.6 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
และ
ขบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้าน
การเงิน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการ
ผลิต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการ
ตลาด
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้าน
ทรัพยากรมนุษย์
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการ
บัญชี
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยี
3.)ผลกระทบของเทคโนโลยี
สารสนเทศผลกระทบในทางบวก
ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์
ช่วยทำให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น
ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยให้มีความสะดวก
ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น
ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์
เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญ
รุ่งเรือง
ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
ผลกระทบในทางลบ
ทำให้เกิดอาชญากรรม
ทำให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย
ทำให้เกิดความวิตกกังวล
ทำให้เกิดการเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ
ทำให้มีการพัฒนาอาวุธที่มีอำนาจทำลายสูง
ทำให้ข้อมูลหรือโปรแกรมถูกทำลายได้
บทที่ 8พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
การเปลี่ยนรูปแบบการกระทำความผิด
*อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็น
องค์ประกอบในการกระทำความผิดทั้ง
ทางตรง และ ทางอ้อม โดยเกี่ยวข้องกับ
อาชญากรรมในหลาย ๆ รูปแบบ ดังนี้
ใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด
เป็นเป้าหมายในการกระทำความผิด
ใช้ในการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการกระ
ทำความผิด
*อาชญากรรมแบบดั้งเดิมที่ใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยในการกระ
ทำความผิด
ฉ้อโกง
∙ การพนัน
∙ ขายสินค้าผิดกฎหมาย, ละเมิดลิขสิทธิ์
∙ จำหน่าย/ เผยแพร่ / ช่วยให้เผยแพร่
ภาพลามกอนาจาร
*อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
(Computer Crimes)
∙ การเจาะระบบคอมพิวเตอร์ (การ
บุกรุก)
∙ การดักรับข้อมูลในเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ (Sniffer)
∙ การขโมย เพิ่ม แก้ไข เปลี่ยนแปลง
ทำลายข้อมูล
(Virus , Trojan , Backdoor)
∙ Spam Mail
ลักษณะการกระทำความผิด
ที่พบในประเทศไทย
คดีหมิ่นประมาท / ก่อความเดือดร้อน
รำคาญ
ลักษณะทั่วไปของอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์
ผู้กระทำความผิดอยู่ตรงไหนก็ได้ใน
โลก
ความเสียหายกระทบถึงคนจำนวน
มากและรวดเร็ว
ใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการกระ
ทำความผิด
ยากต่อการตรวจพบร่องรอยการกระ
ทำความผิด
ยากต่อการจับกุมและนำผู้กระทำผิด
สาเหตุการกระทำความผิด
ความคึกคะนอง
เพราะอยากแก้แค้น
เพื่อการทำโจรกรรม
ส่งไวรัส โปรแกรมหนอน โทรจัน และ
สปายแวร์
สรุปการกระทำความผิดบน
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มาก
ที่สุด
ระบบคอมพิวเตอร์
“ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความ
ว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของ
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทำงาน
เข้าด้วยกัน โดยได้มีการกำหนด
คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด
และแนวทางปฏิบัติงานให้
อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำ
หน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดย
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า
ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง
หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบ
คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบ
คอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้
และให้หมายความรวมถึงข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วย
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบ
คอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง
โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับ
ตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน
หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้ง
ปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกัน
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำ
ขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดัง
กล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่า
จะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวาง
โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน
สองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูล
คอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง
โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับ
ตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือ
ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การพิจารณาฐานความผิด
-การกระทำซึ่งเป็นความผิดตาม มาตรา 7
อาจต้องมีการกระทำความผิดตามมาตรา 5
เสียก่อน
มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิ
ชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้
ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการ
ส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์
นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้
บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ ต้องระวางโทษจำ
คุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย
แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่า
ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูล
คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้อง
ระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่
เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
“มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใด
โดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบ
คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ
ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงาน
ตามปกติได้
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับ
ไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
เหตุผล การกำหนดฐานความผิดคำนึงถึง
การก่อให้เกิดการปฏิเสธการให้บริการ
(Denial of Service) เป็นสำคัญ
มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น
โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของ
การส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวน
การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดย
ปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง
แสนบาท
มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทำความผิดตาม
มาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
(๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่
ว่าความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือใน
ภายหลังและไม่ว่าจะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่
เกินสองแสนบาท
เหตุผล กำหนดโทษหนักขึ้น
ตามความเสียหายที่เกิดขึ้น
มาตรา ๑๓ ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุด
คำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็น
เครื่องมือในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕
มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙
มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจำ
คุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
เหตุผล จำกัดเฉพาะกรณีโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เท่านั้น ซึ่งแต่เดิมรวมถึงฮาร์ดแวร์ (อุปกรณ์) ด้วย
มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้
ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี
หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้ง
ปรับ
การนำเข้า/เผยแพร่เนื้อหาอัน
ไม่เหมาะสม
มาตรา ๑๔ (ต่อ)
(๓) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูล
คอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับ
ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด
เกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมาย
อาญา
(๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูล
คอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามก และข้อ
มูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึง
มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุน
หรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตาม
มาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความ
ควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้
กระทำความผิดตามมาตรา ๑๔
เหตุผล ผู้ให้บริการในที่นี้มุ่งประสงค์ถึง
เจ้าของเว็บไซต์ ซึ่งมีการพิจารณาว่า ควรต้อง
มีหน้าที่ลบเนื้อหาอันไม่เหมาะสมด้วย
มาตรา ๑๖ ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่
ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่
เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติมหรือดัดแปลงด้วย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดย
ประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น
ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษ
จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือ
ทั้งจำทั้งปรับ
ถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าข้อมูล
คอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทำไม่มีความผิด
ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความ