Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาว แวลาตีฟะห์ แวบือราเฮ็ง
รหัส 6006510106
:star: บทที่ 5,6,7 …
นางสาว แวลาตีฟะห์ แวบือราเฮ็ง
รหัส 6006510106
:star: บทที่ 5,6,7 :star:
-
-
-
-
-
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ
ข่ายการสื่อสารข้อมูล (Data Communication Networks) หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยระบบการส่งข้อมูล ทางคลื่นไฟฟ้าหรือแสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปเรียกว่า
องค์ประกอบพื้นฐาน
- หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit)
- ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmiss
tion Channel)
- หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)
วัตถุประสงค์หลักของการนำการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย
1) เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล
2) เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
3) เพื่อลดเวลาการทำงาน
4) เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร
5) เพื่อช่วยขยายการดำเนินการองค์การ
6) เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ
ประโยชน์ของการสื่่อสารข้อมูล
1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บซึ่อยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูง
แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สำหรับการสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120 ตัวอักษร
ต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องเสียเวลานั่งป้อนข้อมูลเหล่านั้นซ้ำใหม่อีก
2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบ
สภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ทำการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผิดพลาด
ไม่มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้
3) ความเร็วของการทำงาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีก
โลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทำได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบทำให้ผู้ใช้สะดวกสบายยิ่งขึ้น เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่ง
สามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทำให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถทำได้ทันที
4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็นเครือข่าย เพื่อส่งหรือสำเนาข้อมูล ทำให้ราคาต้นทุนของการใช้ข้อมูลประหยัดขึ้น
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าคอมพิวเตอร์
บทที่ 6
คอมพิวเตอร์
-ระบบการประมวลผลข้อมูลแบบมีศูนย์กลาง
-การประมวลผลข้อมูลทั้งหมดจะเกิดขึ้นที่เครื่องหลักเพียง
เครื่องเดียว
-การประมวลผลทางไกล (Teleprocessin)
ประเภทของระบบเครือข่าย
- ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area
Network : LAN)
- เป็นเครือข่ายสื่อสารในระยะใกล้ ซึ่ง
ครอบคลุมพื้นที่บริเวณเดียวกันหรือใกล้
เคียงกันที่มีระยะทางไม่เกิน 1 ไมล์
- โดยอาจการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรือ
อุปกรณ์ต่างๆ ภายในสำนักงานที่อยู่ในตึก
เดียวกันหรือระหว่างตึกที่ใกล้เคียงกันเข้า
เป็นเครือข่าย
- ระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan
Area Network : MAN)
- เป็นเครือข่ายสื่อสารที่ครอบคลุมพื้นที่ใน
ระยะทางที่ไกลกว่า LAN ซึ่งอาจจะเป็นการ
เชื่อมต่อกันระหว่างเมืองกับเมืองหรือระหว่าง
จังหวัดกับจังหวัด
- มักเกิดจากการเชื่อมโยงเครือข่าย LAN ใน
บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน
- เช่น เครือข่ายของบริษัทที่มีสาขาต่างๆ อยู่
- ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (Wide
Area Network : WAN)
- เป็นเครือข่ายสื่อสารที่ครอบคลุมพื้นที่
ในระยะทางที่ไกลมาก ในระดับประเทศ
ระดับทวีป หรือทั่วทั้งโลก โดยส่วนมาก
แล้ว WAN นั้น จะเป็นการเชื่อมต่อ
ระหว่างเครือข่าย LAN หลายๆ เครือ
ข่ายเข้าด้วยกัน เพื่อทำให้สามารถส่ง
ข้อมูลและใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ใน
ระยะทางที่ไกลขึ้น
ประเภทของระบบเครือข่าย
- สามารถแบงออกได้ เป็น 3 ประเภทด้วยกัน คือ
- ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area
Network : LAN)
- ระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan
Area Network : MAN)
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
บริการหลักของ (NOS : Network OperatingSystem)
- บริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ (File and
Print Services)
- บริการดูแลและจัดการระบบ
(Management Services)
- บริการรักษาความปลอดภัย (Security
Services)
- บริการอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต
(Internet/Intranet Services)
เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 7
เทคโนโลยีสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสาร
ที่ได้จากการนำ ข้อมูลดิบ (Raw data) มา
คำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่าง
หนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่
สามารถนำไปใช้งานได้ทันที
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง
กระบวนการต่างๆ และระบบงานที่ช่วยให้
ได้สารสนเทศที่ต้องการ โดยจะรวมถึง
เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์โทรคมนาคม
คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
- มีความถูกต้องชัดเจน
- ตรงกับความต้องการ
- มีความกะทัดรัด ปริมาณพอเพียง
- เป็นปัจจุบัน ทันสมัย
- สะดวก รวดเร็ว ทันต่อการใช้งาน
- เชื่อถือได้
- เป็นระบบต่อเนื่องในการนำมาใช้งาน
กระบวนการของระบบสารสนเทศ
- ขั้นเก็บข้อมูล
- ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
- ขั้นรายงาน
- ขั้นเผยแพร่
- ขั้นนำไปใช้
-
-
-
-