Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
二ースデザインการออกแบบการสอน (2.6 教え方を考える。การคิดวิธีสอน (文法翻訳法(ぶんぽうほんやくほう) …
二ースデザインการออกแบบการสอน
2.1学習者のことを知る。ต้องการทราบเกี่ยวกับของผู้เรียน
2 学習法などの好(この)み、言語観(げんごかん)、学習観(がくしゅうかん).
ความชื่นชอบในวิธีการเรียนหรือชอบเรียนแบบไหน ระหว่าง ทัศนคติด้านภาษาหรือทัศนคติด้านการเรียน
3 学習者の二ーズ。ความต้องการของผู้เรียน
動機(どうき)แรงบันดาลใจ
学習意欲(いよく)แรงจูงใจในการเรียน
1 学習者のレディネス。การเตรียมความพร้อมของผู้เรียน
2.2 教師のことを知る。ความรู้เกี่ยวกับครู
教授観(きょうじゅかん)ลักษณะการสอน
2.3教える内容[ないよう]を考える
การคิดเนื้อหาการสอน
1.シラバス การเรียบเรียงลำดับเนื้อหาการสอน หรือประมวลรายวิชา ส่วนลำดับของหัวข้อหลักสูตรทั้งหมดจะเรียกว่า コースシラバス
1.1機能(きのう)シラバスประมวลรายวิชาที่เน้นไปที่หน้าที่ของคำคำศัพท์แต่ละคำจะมีหน้าที่การใช้ที่หลากหลาย
1.2場面(ばめん)シラバスประมวลรายวิชาที่เน้นสถานการณ์
1.3話題(わだい)シラバスประมวลรายวิชาเน้นเอาหัวเรื่องเป็นหลัก
1.4技能(ぎのう)シラバスประมวลรายวิชาตามประเภทของทักษะ ซึ่งได้แก่ การอ่าน การเขียน การพูด การการฟัง
1.5 文型(ぶんけい)シラバスประมวลรายวิชาที่เน้นไวยากรณ์เป็นหลัก ง่ายไปยาก
複合(ふくごう)シラバスหลักสูตรที่ต้องเรียน 2 หลักสูตรควบคู่กันไป
ใน 1 เทอมก็จะต้องเรียนทั้งหลักสูตรที่เกี่ยวกับสถานการณ์และหน้าที่ของสำนวน
3.課題(かだい)シラバス (タスクシラバス)
หลักสูตรนี้จะเป็นการเน้นไปที่การทำกิจกรรมภายในห้องเรียน
โดยการตั้งหัวข้อขึ้นมาเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น การไปดูหนังกับเพื่อน การวางแผนไปเที่ยว เป็นต้น ผู้เรียนจะได้ใช้ความรู้ที่เรียน
2.4目標(もくひょう)を考えるการคิดวัตถุประสงค์ในการเรียน
การมีเป้าหมายในสิ่งที่กำลังเรียนและการมีแรงบันดาลใจย่อมส่งผลให้เราประสบความสำเร็จในเป้าหมายที่ตั้งไว้
2.5 教材(きょうざい) 教具(きょうぐ)について考える。สื่อการสอนอุปกรณ์ประกอบการสอน
(1)主教材(しゅきょうざい)สื่อการสอนหลัก
教科書(きょうかしょ)(ตำราเรียน)
(2)副教材(ふくきょうざい)教具(きょうぐ)สื่อการสอนเสริมและอุปกรณ์ประกอบการสอน
รูปภาพ,นิตยสาร
2.6 教え方を考える。การคิดวิธีสอน
文法翻訳法(ぶんぽうほんやくほう) เน้นตัวอักษร การอ่าน,การเขียน การท่องจำคำศัพท์ โครงสร้างไวยากรณ์ และให้ความสำคัญกับภาษาต่างประเทศและภาษาแม่คู่กัน
直接法(ちょくせつほう) เน้นความเข้าใจความหมายของคำ,การออกเสียงตามผู้สอนและไม่มีภาษาที่เป็นสื่อกลาง
オーディオリンガル法 เน้นโครงสร้างการออกเสียง,การออกเสียงซ้ำๆฝึกซ้ำๆ
TPR(Total Physical Response) เน้นความเข้าใจผู้เรียน เป็นการเรียนรู้ตามธรรมชาติ ไม่บังคับผู้เรียน
コミュニカティブ.アプローチ เน้นทักษะการสื่อสาร สามารถสื่อสารได้ ไม่ได้สนใจแค่โครงสร้างภาษา และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ