Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
初級(しょきゅう)を教える。การสอนระดับต้น (授業設計(じゅぎょうせっけい) การออกแบบชั่วโมงเรียน (3.3…
初級(しょきゅう)を教える。การสอนระดับต้น
1.初級(しょきゅう)で身(み)に付(つ)けさせたい能力(のうりょく)。ทักษะที่อยากจะให้ผู้เรียนชั้นต้นรับรู้
1.1.初級(しょきゅう)の学習者ができること。 ความสามารถระดับต้นที่ผู้เรียนจะสามารถทำได้
คำศัพท์ สำนวน
1.2 初級(しょきゅう)段階(だんかい)で教えること。การสอนในระดับพื้นฐาน
การออกเสียง ฮิรางะนะ คาตากานะ คันจิ คำศัพท์ ไวยกรณ์รูปประโยค สนทนา เรียงความ การฟัง การอ่าน วัฒนธรรมญี่ปุ่นเหตุการณ์ญี่ปุ่น อื่นๆ
カナール canale 1985 กล่าว่า ยังมีทักษะสื่อสาร มี4 ด้าน
2 社会言語(しゃかいげんご)能力(のうりょく)
(ทักษะด้านภาษาสังคมเลือกบทสนทนาให้เหมาะสมกับกาลเทศะ)
3 談話(だんわ)能力(のうりょく) (ทักษะด้านการใช้คำพูด)
เข้าใจความหมายของคำ บทสนทนาเลือกใช้คำเพื่อถ่ายทอดข้อมูลให้อีกฝ่ายเข้าใจได้ง่ายๆ
1 分法能力(ぶんほうのうりょく)
(ทักษะด้านไวยกรณ์ )
4 ストラテジー能力(のうりょく) (ทักษะด้านกลยุทธ์ในการสื่อสาร)
เทคนิคการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่างๆ
1.3 学習目標(がくしゅうもくひょう)を立てる。วัตถุประสงค์ในการเรียน
ความรู้ (知識(ちしき)
และทักษะ (技能(ぎのう)
-เป้าหมายเกี่ยวกับการสื่อสาร
-ป้าหมายเกี่ยวกับทักษะของภาษา
-อื่นๆ (เป้าหมายเกี่ยวกับความเข้าใจของวัฒนธรรม)
-เป้าหมายเกี่ยวกับความรู้ของภาษา
2 コミュニケーションに能力(のうりょく)を育(そだ)てる授業(じゅぎょう)
การฝึกฝนเด็กให้มีความสามารถด้านการสื่อสาร
2.1授業の流(なが)れ ลำดับของการเรียน
基本練習(きほんれんしゅう)
ฝึกการแต่งประโยคให้ถูกต้องตามไวยากรณ์
สามารถจำความหมายของรูปแบบ ไวยากรณ์ และวิธีใช้ได้
(覚える)
導入(どうにゅう)
ทำความเข้าใจรูปไวยากรณ์
เข้าใจว่ารูปแบบทางภาษา(分かる)
応用練習(おうようれんしゅう)
ฝึกใช้ไวยากรณ์ให้เหมือนกับการสื่อสารจริง
สามารถนำความรู้ที่จำได้ไปใช้ในสถานการณ์จริงได้อย่างอิสระ
(使える)
2.2導入(どうにゅう)で行(おこな)う活動(かつどう)。เกริ่นนำกิจกรรมเบื้องต้น
2.3 基本練習(きほんれんしゅう)で行(おこな)う活動(かつどう) การฝึกที่ให้ผู้เรียนสามารถพูดได้ถูกต้องตามไวทยากรณ์
(1)文型練習(ぶんけいれんしゅう) การฝึกฝนรูปประโยค
キュー(cue)การบอกใบ้ให้เด็กก่อน แล้วเด็กจะต่อประโยคเอง
⑤ 結合練習(けつごうれんしゅう)
เป็นวิธีการฝึกที่ผู้เรียนแต่งประโยคโดยรวมสองประโยคให้เป็นประโยคเดียว
~てから、ながら、たら、ので、ば、のに
⑥ 完成練習(かんせいれんしゅう)
เป็นวิธีการฝึกที่ให้ผู้เรียนพูด/เขียน ต่อจากประโยคที่ผู้สอนให้
④ 展開練習(てんかいれんしゅう)
เป็นวิธีการฝึกที่ให้ผู้เรียนแต่งประโยคตามคําศัพท์ที่ผู้สอนให้
⑦ 応答練習(おうとうれんしゅう)
เป็นวิธีการฝึกที่ให้ผู้เรียนฟังรูปประโยคแล้วตอบคําถาม
③ 変換練習(へんかんれんしゅう)
เป็นวิธีการฝึกที่ให้ผู้เรียนได้ผันรูปตามที่ผู้สอนสั่ง
② 代入練習(だいにゅうれんしゅう)
เป็นวิธีการฝึกที่ผู้สอนให้ผู้เรียนเลือกคําที่จะใช้เติมลงไปในช่องว่าง
①反復練習(はんぷくれんしゅう) เป็นวิธีการฝึกที่ให้นักเรียนพูดตามผู้สอน
(2)意味(いみ)を考(かんが)えてする基本練習(きほんれんしゅう) การฝึกฝนที่คำนึงถึงความหมายด้วย เริ่มให้เด็กใช้ความคิดของตัวเองมากขึ้นที่ใกล้เคียงกับสถานการณ์จริง
コミュニケーションの要素(ようそ) องค์ประกอบของการสื่อสาร
情報(じょうほう)さ
ในการสนทนา ผู้พูดและผู้ฟังจะรู้ข้อมูลไม่เท่ากัน จุดมุ่งหมายข้อหนึ่งในการสื่อสารคือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
選択権(せんたくけん)
ในการสนทนาจริง ผู้พูดมีสิทธิที่จะเลือกว่าจะพูดแบบไหนอย่างไร ซึ่งการให้ผู้เรียนสามารถพูดได้อย่างที่คิดเป็นเรื่องที่สําคัญ
反応(はんのう) (Feedback)
หลังจากฟังสิ่งที่สื่อสารแล้ว ผู้ฟังจะมีการโต้ตอบ ซึ่งการโต้ตอบนั้นเป็นตัวบ่งบอกว่าผู้ฟังเข้าใจตามที่ผู้พูดต้องการจะสื่อหรือไม่
2.4 応用練習(おうようれんしゅう)で行(おこな)う活動(かつどう)
การฝึกหัดในระดับบทสนทนาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ไวยากรณ์ที่เรียนมาในสถานการณ์ที่ใกล้เคียงกับการสื่อสารจริง
ゲーム
ロールプレイ (บทบาทสมมติ)คนไข้กับหมอ
インタビュー สัมภาษณ์คนญี่ปุ่น
การฝึกประยุกต์ใช้
1.การฝึกสื่อสารที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง
-ใช้สถานการณ์ที่อาจจะเจอในอนาคตบทบาทและ (タスク) งานที่ได้รับ
มอบหมายที่อยู่ใกล้ตัวผู้เรียน
-ฝึกคิดลำดับของบทสนทนา
-มีแบบฝึกที่เป็น選択(せんたく)けんและ情報(じょうほう)さ
-จัดการดำเนินกิจกรรมระหว่างผู้เรียน
2.บรรลุวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
3.พยายามให้ผู้เรียนทำกิจกรรมด้วยความกระตือรือร้น
4.สามารถคิดความสมดุล ทั้ง 4 ทักษะ (ฟัง พูด อ่าน เขียน)
授業設計(じゅぎょうせっけい)
การออกแบบชั่วโมงเรียน
3.3 学習目標(がくしゅうもくひょう)の設定(せってい)กำหนดวัตถุประสงค์การศึกษา
1.課(か)の学習目標(がくしゅうもくひょう)
การตั้งวัตถุประสงค์การเรียนรายบท
2 .(1)回(かい)の授業(じゅぎょう)の学習内容(がくしゅうないよう)と学習目標(がくしゅうもくひょう)の設定(せってい)
กำหนดเป้าหมายการเรียนและเนื้อหาการเรียนในชั้นเรียน 1 ครั้ง
1.หลังจากที่เกริ่นนำอธิบายรูปประโยคใหม่ทั้งหมดก่อน และทำแบบฝึกหัด
2.จะเกริ่นนำและอธิบายไวยากรณ์ตัวที่ 1 และฝึกเสร็จ และค่อยอธิบายไวยากรณ์ตัวที่ 2 และฝึก
3.4 教案(きょうあん)の作成(さくせい)การเขียนแผนการสอน
คือก็ต้องแบ่งเนื้อหา การเรียนในแต่ละครั้ง ว่าจะสอนถึงเรื่องอะไร มีวัตถุประสงค์อะไรในคาบนั้น ต้องคิดจินตนาการถึงชั้นเรียนในความเป็นจริงด้วย
3.2教科書(きょうかしょ)の分析(ぶんせき)
การวิเคราะห์ตำราเรียน
学習項目(がくしゅうこうもく)の整理(せいり)と分析(ぶんせき)การวิเคราะห์และการอธิบายหัวข้อการเรียน
หัวข้อที่ท่านได้รับมอบหมาย หัวข้อการเรียนใหม่คืออะไรบ้าง ลองเขียนหัวข้อการเรียนใหม่ดังกล่าว โดยแยกเป็นคำศัพท์ ไวยากรณ์ และอื่นๆ
課(か)の構成(こうせい)と本文(ほんぶん)や練習問題(れんしゅうもんだい)などの分析(ぶんせき)
การวิเคราะห์ส่วนประกอบในแต่ละบท เนื้อหา และแบบฝึกหัด
例文(れいぶん)ตัวอย่างประโยค
語彙(ごい)คำศัพท์
1.本文(ほんぶん)เนื้อหา会話文(かいわぶん)や読解文(どっかいぶん) เนื้อเรื่องการอ่านหรือบทสนทนา ที่อยู่ในบทนั้น
練習แบบฝึกหัด
3.5 授業評価(じゅぎょうひょうか)
การประเมินผลในชั้นเรียน
授業中のフィードバック
ครูจะต้องมี feedback กลับไปให้เด็กอย่างเหมาะสมพูดว่า 「いいですねดีจังเลยนะ」「はい、そうです」หรือเวลาตอบผิดก็จะแก้ไขให้
3.1 授業設計(じゅぎょうせっけい)の手順(てじゅん)
ขั้นตอนของการออกแบบชั่วโมงสอน
ตรวจสอบหัวข้อที่จะสอนในหนังสืออย่างละเอียดแล้วก็ตั้งวัตถุประสงค์การเรียน จากนั้นจะทำกิจกรรมให้เป็นรูปธรรมอย่างไร เขียนแผนการสอน(教案(きょうあん)) คิดลำดับการสอน คิดวิธีที่จะสอนใน