Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการออกแบบการวิจัยและแบบแผนการทดลอง (วัตถุประสงค์ (3 (กำหนดวิธีสุ่มตัวอ…
หลักการออกแบบการวิจัยและแบบแผนการทดลอง
ความหมาย
ออกแบบการวัด
ออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
Kerlinger
โครงสร้าง
รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ยุทธวิธี
เทคนิคการดำเนินการ
โครงสร้างการวิจัย
เป้าหมาย
รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล
แผน
แนวทาง
แบบแผนการวิจัย
วัตถุประสงค์
3
กำหนดวิธีสุ่มตัวอย่าง จำนวนขนาดกลุ่ม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การทดสอบสมมติฐาน ครอบคลุมกลุ่มตัวอย่าง
4
กำหนดเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสร้างเครื่องมือ
5
แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล
การแปรผล
นำเสนอผลการวิเคราะห์
1
เลือกวิธีวิจัย
ควบคุมการแปรปรวน
6
กำหนดแผนการทำงาน
ทรัพยากร
งบประมาณ
อุปกรณ์ ฯลฯ
7
วางแผนป้องกันปัญหา
อุปสรรค
การศึกษาปัญหาข้อเสนอแนะที่อื่น
2
ได้คำตอบของปัญหาวิจัย
กำหนดแผนการล่วงหน้าในกระบวนการหาคำตอบ
หลักการออกแบบ
The Max Min Con Principle
Min : Minimization of Eror Variance
ทำให้ความแปรปรวนมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด
ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง
ความแตกต่าง
เพศ อายุ อารมณ์ เป็นต้น
ความคลาดเคลื่อนอย่างเป็นระบบ
ความบกพร่องในการใช้เครื่องงมือ
ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากเครื่องมือวัด
การขจัดความคลาดเคลื่อน
ทำให้เครื่องมือวัดมีคุณภาพ
ควบคุมเงื่อนไขการทดลองให้มีระบบและแน่นอน
Con : Control of Extraneous Variable
การควบคุมความแปรปรวนของตัวแปร
การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
วิธีสุ่มที่เหมาะสม
ประชากรมีโอกาสถูกเลือกเป็นกลุ่มตัวอย่าง
การกำจัดตัวแปร
ควบคุมตัวแปรเกินให้คงที่
ไม่ให้มีผลต่อตัวแปรตาม
การเพิ่มตัวแปร
ไม่สามารถควบคุมตัวแปรเกินได้
เพิ่มเป็นตัวแปรอิสระ
ศึกษาตัวแปรมีผลต่อตัวแปรตามหรือไม่
การจับคู่
เป็นรายกลุ่ม
ทดสอบความแตกต่างเชิงสถิติ
มีความเท่าเทียมกันทั้งสองกลุ่ม
เป็นรายบุคคล
บุคคลที่มีความเหมือนเท่าเทียมกัน
ทดสอบความแตกต่าง
การใช้เทคนิคทางสถิติ
ควบคุม
วิเคราะห์ความแปรปรวน
ใช้เครื่องจักรกลหรือกายภาพ
ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
สภาพแวดล้อมขณะทดลอง
การเพิ่มค่าความแปรปรวนทั้งหมดของตัวแปรตาม
Max : Maximization of Dependent Variable Variance
วัดและสังเกตผลให้ชัดเจน
ทำให้ตัวแปรอิสระแตกต่างที่สุด
อิทธิพลจากตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้นมากที่สุด
ทำให้ตัวแปรตามได้รับผล
ความเที่ยงตรง
ภายใน
เกิดจากการดำเนินการทดลองโดยตรง
ผลการวิจัยเกิดจากตัวแปรอิสระที่ศึกษาโดยตรง
ปัจจัยที่ทำให้ขาดความเที่่ยงตรง
เหตุการณ์
วุฒิภาวะ
การทดสอบ
เครื่องมือที่ใช้วัด
การถดถอยทางสถิติ
ความลำเอียงในการคัดเลือก
การสูญหายของกลุ่มตัวอย่าง
ผลของปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ
ภายนอก
ผลการวิจัยสมารถสรุปอ้างอิงไปยังเนื้อหา สถานการณ์ ประชากรถูกต้อง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาเป็นตัวแทนที่ดี
ปฏิกิริยาร่วมระหว่างการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างกับการจัดกระทำ
ปฏิกิริยาร่วมระหว่างการสอบครั้งแรกกับการจัดกระทำ
ปฏิกิริยาจากการจัดสภาพการทดลอง
ผลร่วมของการได้รับตัวแปรทดลองหลาย ๆ ครั้ง
ประเภทการออกแบบการทดลอง
การออกแบบการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง
กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ไม่เท่าเทียมกัน วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การออกแบบการวิจัยเชิงทดลองที่แท้จริง
กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่แท้จริง วัดผลเฉพาะหลังการทดลอง
กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่แท้จริง วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การออกแบบการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้น
กลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วัดผลก่อนละหลังการทดลอง
กลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วัดผลเฉพาะหลังการทดลอง