Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ และ หลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ (ปรับปรุง ๒๕๖๐) (สมาชิก…
หลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ และ
หลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ (ปรับปรุง ๒๕๖๐)
ชั้นประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาตอนต้น
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
มาตรฐาน ค๒.๑
ค๒.๑ ป๒/๑ บอกความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร และ เปรียบเทียบความยาวในหน่วยเดียวกัน
ค๒.๑ ป๒/๒ วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร
ค๒.๑ ป๒/๓ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร
ค๒.๑ ป๒/๒ บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด และเปรียบเทียบน้ำหนักในหน่วยเดียวกัน
ค๒.๑ ป๒/๔ วัดและเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด
ค๒.๑ ป๒/๕ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด
ค๒.๑ ป๒/๓ บอกปริมาตรและความจุเป็นลิตร และเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ
ค๒.๑ ป๒/๖ วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร
ค๒.๑ ป๒/๔ บอกจำนวนเงินทั้งหมดจากเงินเหรียญ และธนบัตร
ไม่มี :green_cross:
ค๒.๑ ป๒/๕ บอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา(ช่วง ๕ นาที)
ไม่มี :green_cross:
ค๒.๑ ป๒/๖ บอกวัน เดือน ปี จากปฏิทิน
ไม่มี :green_cross:
ปรับปรุง ๒๕๖๐
ค๒.๑ ป๒/๑ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาที่มีหน่วยเดี่ยวและเป็นหน่วยเดียวกัน
มาตรฐาน ค๒.๒
ค๒.๒ ป๒/๑ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั่ง การตวง และเงิน
บรรจุอยู่ใน ค๒.๑
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
มาตรฐาน ค๒.๑
ค๒.๑ป๓/๑ บอกความยาวเป็นเมตร เซนติเมตร และมิลลิเมตร เลือกเครื่องวัดที่เหมาะสม และเปรียบเทียบความยาว
ค๒.๑ป๓/๓ เลือกใช้เครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม วัดและบอก ความยาวของสิ่งต่างๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร
ค๒.๑ป๓/๔ คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร
ค๒.๑ป๓/๕ เปรียบเทียบความยาวระหว่างเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่างๆ
ค๒.๑ ป๓/๖ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว ที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร
ค๒.๑ป๓/๒ บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัม กรัม และขีด เลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม และเปรียบเทียบน้ำหนัก
ค๒.๑ป๓/๗ เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนัก เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม
ค๒.๑ป๓/๘ คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัม และเป็นขีด
ค๒.๑ป๓/๙ เปรียบเทียบน้ำหนักระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่างๆ
ค๒.๑ป๓/๑๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนัก ที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม
ค๒.๑ป๓/๓ บอกปริมาตรและความจุเป็นลิตร มิลลิลิตร เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม และเปรียบเทียบปริมาตร และความจุในหน่วยเดียวกัน
ค๒.๑ป๓/๑๑ เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร
ค๒.๑ป๓/๑๒ คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร
ค๒.๑ป๓/๑๓ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและมิลลิลิตร
ค๒.๑/ป๓/๔ บอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา (ช่วง ๕ นาที) อ่านและเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด
ค๒.๑ป๓/๒ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา
ค๒.๑/ป๒/๕ บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดความยาว น้ำหนัก และเวลา
ค๒.๑ป๒/๖ อ่านและเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุด
ค๒.๑ ป๓/๑ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
มาตรฐาน ค ๒.๒
ค๒.๒ป๓/๑ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั่ง การตวง เงินและเวลา
บรรจุอยู่ใน ค๒.๑
ค๒.๒ป๓/๒ อ่านและเขียน บันทึกรายรับ รายจ่าย
บรรจุอยู่ใน ค๒.๑
ค๒.๒ป๓/๓ อ่านและเขียนกิจกรรมหรือเหตุการณ์ ที่ระบุเวลา
บรรจุอยู่ใน ค๒.๑
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
มาตรฐาน ค๒.๑
ค๒.๑ ป๑/๒ บอกช่วงเวลา จำนวนวัน และชื่อวันในสัปดาห์
ไม่มี
ค๒.๑ ป๑/๑ บอกความยาวน้ำหนัก ปริมาตร และความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
ค๒.๑ ป๑/๑ วัดและเปรียบเทียบความยาวเซนติเมตร เป็นเมตร
ค๒.๑ ป๑/๒ วัดและเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด
ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย
ป.4
เวลา
บอกเวลา
เปรียบเทียบเวลา
อ่านตารางเวลา
โจทย์เกี่ยวกับเวลา
การวัดและการสร้าง
วัดขนาดมุมโดยใช้ไม้โพรแทกเตออร์
การสร้างมุม เมื่อกำหนดขนาดของมุม
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ความยาวรอบรูป
พื้นที่ของรูป
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นท่ีของรูป
ป.5
ความยาว
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวโดยใช้ความรู้เรื่องการเปลี่ยนหน่วยและทศนิยม
น้ำหนัก
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้ำหนัก โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม
แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนัก โดยใช้ความรู้เรื่องการเปลี่ยนหน่วยและทศนิยม
ปริมาตรและความจุ
ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ความสัมพันธ์ระหว่างมิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร ลูกบากศ์เมตร
แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
รูปเรขาคณิตสองมิติ
ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
ป.6
ปริมาตรและความจุ
ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
รูปเรขาคณิตสองมิติ
ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
มุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม
ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม
การแก้โจทย์เกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม
ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม
การแก้โจทย์เกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม
เนื้อหาเรื่อง ทิศ การระบุตำแหน่ง ถูกตัดออกจากเนื้อหาชั้น ป.6 สำหรับหลักสูตรใหม่
เปรียบเทียบตัวชี้วัด
สาระที่ ๒ การวัด
ค๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งของที่ต้องการวัด
ค๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต
ค๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดสิ่งของที่ต้องการวัด และนำไปใช้
ค๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้
ค๒.๓ เข้าใจเรขาคณิตวิเคราะห์ และนำไปใช้
ค๒.๔ เข้าใจเวกเตอร์ การดำเนินการของเวกเตอร์ และนำไปใช้
ชั้นมัธยมศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตร ๒๕๕๑
เล่ม ๒
บทที่๒ อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
ค ๒.๑ ม.๔-๖/๑
การประยุกต์ใช้อัตราส่วนตรีโกณมิติ
ค ๒.๒ ม.๔-๖/๑
หลักสูตร ๒๕๖๐
ไม่เน้นวิทยาศาสตร์
ไม่มีเนื้อหาที่อยู่ในสาระการวัด :red_cross:
เน้นวิทยาศาสตร์
ม.๔ เรขาคณิตศาสตร์วิเคราะห์
ค ๒.๓ ม.๔/๑
ม.๕ เวกเตอร์ในสามมิติ
ค ๒.๔ ม.๕/๑
ค ๒.๔ ม.๕/๒
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตร ๒๕๕๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ :star:
รายวิชาพื้นฐานเล่มที่ ๒ บทที่ ๒ การวัด
การวัดความยาว การวัดพื้นที่ การวัดปริมาตรและน้ำหนัก
ค ๒.๑ ม.๒/๒ :red_flag:
คาดคะเน
เวลา ระยะทาง
พื้นที่ ปริมาตร
และน้ําหนักได
อยางใกลเคียง
และอธิบาย
วิธีการที่ใช
ในการคาดคะเน
การคาดคะเนความยาวของสิ่งต่างๆ
ค ๒.๑ ม.๒/๓ :red_flag:
ใชการ
คาดคะเน
เกี่ยวกับการวัด
ในสถานการณ
ตาง ๆ ไดอยาง
เหมาะสม
ความเป็นมาของการวัดในระบบต่างๆ
ค ๒.๑ ม.๒/๑ :red_flag:
เปรียบเทียบ
หนวยความยาว
หนวยพื้นที่
ในระบบเดียวกัน
และตางระบบ
และเลือกใช
หนวยการวัด
ไดอยางเหมาะสม
การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ค ๒.๒ ม.๒/๑ :red_flag:
ใชความรู
เกี่ยวกับ
ความยาว
และพื้นที่
แกปญหา
ในสถานการณ
ตาง ๆ
รายวิชาเพิ่มเติม
NOTE :green_cross: ไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสาระการวัด
รายวิชาพื้นฐานเล่มที่ ๑
NOTE :green_cross: ไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสาระการวัด
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ :star:
รายวิชาพื้นฐานเล่มที่ ๒
NOTE :green_cross: ไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสาระการวัด
รายวิชาเพิ่มเติม
NOTE :green_cross: มีเนื้อหาเกี่ยวกับการวัดคือ :check:อัตราส่วนตรีโกณมิติ และ :check:พื้นผิวและปริมาตร
รายวิชาพื้นฐานเล่มที่ ๑ บทที่ ๑ พื้นที่ผิวและปริมาตร
การหาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด และกรวย
ค ๒.๑ ม.๓/๒ :red_flag:
หาปริมาตร
ของปริซึม
ทรงกระบอก
พีระมิด กรวย
และทรงกลม
เปรียบเทียบหน่วยความจุหรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ
ค ๒.๑ ม.๓/๓ :red_flag:
เปรียบเทียบ
หนวยความจุ
หรือหนวย
ปริมาตรใน
ระบบเดียวกัน
หรือตางระบบ
และเลือกใช
หนวยการวัดได
อยางเหมาะสม
การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
ค ๒.๑ ม.๓/๑ :red_flag:
หาพื้นที่ผิว
ของปริซึมและ
ทรงกระบอก
การเลือกใช้หน่วยวัดอย่างเหมาะสม
ค ๒.๑ ม.๓/๓ :red_flag:
เปรียบเทียบ
หนวยความจุ
หรือหนวย
ปริมาตรใน
ระบบเดียวกัน
หรือตางระบบ
และเลือกใช
หนวยการวัดได
อยางเหมาะสม
รูปเรขาคณิตสามมิติ
:warning:ตัวชี้วัดเรขาคณิต
ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆ
ค ๒.๑ ม.๓/๔ :red_flag:
ใชการคาด
คะเนเกี่ยวกับ
การวัดใน
สถานการณตางๆ
ไดอยางเหมาะสม
แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ค ๒.๒ ม.๓/๑ :red_flag:
ใชความรู
เกี่ยวกับพื้นที่
พื้นที่ผิว และ
ปริมาตรในการ
แกปญหาใน
สถานการณ
ตาง ๆ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ :star:
NOTE :green_cross: ไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสาระการวัด
โครงสร้างรายวิชา :red_flag: :
รายวิชาพื้นฐาน :pencil2:
รายวิชาเพิ่มเติม :pencil2:
หลักสูตร ๒๕๖๐
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
NOTE :green_cross: ไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสาระการวัด
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
:red_cross:เนื้อหา เรื่องการวัดถูกตัดออก
NOTE :warning:เนื้อหาที่เพิ่มเติมไม่มี
โครงสร้างรายวิชา :red_flag:
:check:รวมหนังสือรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมเป็นเล่มเดียว
ชั้นมัธยมศึกษปีที่ ๓
NOTE :warning:เนื้อหาที่ตัดออกไม่มี คือเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรแต่เปลี่ยนตัวชี้วัด ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติ
:warning:ตัวชี้วัดเรขาคณิต
การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกและการแก้ปัญหา
ค ๒.๑ ม.๓/๑ :red_flag:
ประยุกต์ใช้ควำมรู้เรื่องพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลมในกำรแก้ปัญหำคณิตศำสตร์ และปัญหำในชีวิตจริง
การหาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด และกรวยและการแก้ปัญหา
ค ๒.๑ ม.๓/๒ :red_flag:
ประยุกต์ใช้ควำมรู้เรื่องปริมำตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมในกำรแก้ปัญหำคณิตศำสตร์ และปัญหำในชีวิตจริง
เนื้อหาที่เพิ่มเติิม
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
ค ๒.๒ ม.๓/๒ :red_flag:
เข้ำใจและใช้ควำมรู้เกี่ยวกับอัตรำส่วนตรีโกณมิติ ในกำรแก้ปัญหำคณิตศำสตร์และปัญหำในชีวิต จริง
สมาชิก
นางสาวนภสร คำปิ่นแก่ว 600231006
นายพงษ์วสุ เนียมสำเภา 600231009
นางสาวสุภัจชนา แสงงแก้ว 600231015
นางสาวอรรถกานต์ วงศ์ใหญ่ 600231017