Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นตอนต้น (รูปแบบสื่อที่ต้องการ (2.มีการดำเนินเรื่องท…
การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นตอนต้น
วัตถุประสงค์
2.เพื่อพัฒนาหนังสือส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นตอนต้น
3.เพื่อเปรียบเทียบความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นตอนต้น
1.เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และปัญหาของสื่อที่ใช้ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นตอนต้น
4.เพื่อประเมินความพึงพอใจต่อการใช้หนังสือ
กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา
กลุ่มวิเคราะห์สถานการณ์ จำนวน 6 คน
กลุ่มทดลองใช้หนังสือส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 45 คน
ตารางรายงานความพึงพอใจ
ด้านความรู้
2.ความเหมาะสมกับผู้เรียน
3.ความสอดคล้องของเนื้อหาในแต่ละตอน
1.การนำเสนอเรื่องที่น่าสนใจ
4.เนื้อหาส่งเสริมให้นักเรียนมีความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงมากขึ้น
ด้านการออกแบบ
3.การจัดวางภาพตามหลักองค์ประกอบศิลป์
4.ความสะดวกในการนำไปใช้ การจัดเก็บ และบำรุงรักษา
2.การใช้สีในการออกแบบได้เหมาะสม
1.ตัวอักษรมีความเหมาะสม (สี,พื้น,ขนาด)
5.รูปเล่ม (แข็งแรง,เรียบร้อย,น่าสนใจ)
ด้านคุณค่าและประโยชน์
3.ช่วยให้นักเรียนรักการอ่านมากยิ่งขึ้น
4.ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์
2.ช่วยให้ความบันเทิงกับนักเรียน
1.ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น
ที่มาและความสำคัญของปัญหา
1.ปัจจุบันปัญหาของวัยรุ่นในสังคมไทยรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น
2.วัยแรกรุ่น คือ ช่วงอายุ 10 – 14 ปี เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายทุกระบบ
การพูดคุยเรื่องการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นกับเด็กที่ย่างเข้าสู่วัยรุ่นถือว่าเป็นปัญหาในเมืองไทย
4.การให้ความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นมีความสำคัญอย่างยิ่ง
รูปแบบสื่อที่ต้องการ
2.มีการดำเนินเรื่องที่น่าสนใจ สีสันสวยงาม น่าสนใจ
3.มีภาพประกอบสวยงาม น่าติดตาม
1.เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่นำเสนอเนื้อหาในลักษณะที่เป็นนิทาน
4.รูปเล่มมีขนาด 21.0 x 29.7 เซนติเมตรทมีจำนวน 58 หน้า
5.นำเสนอเนื้อหาภายในหนังสือในลักษณะของการเล่าเรื่องแบบนิทาน และมีภาพประกอบเป็นมิติ
6.มีหัวข้อสำคัญ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญในการประเมินคุณภาพสื่อ
ข้อเสนอแนะการศึกษา
1.ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้
1.สามารถนำมาใช้เป็นต้นแบบในการผลิตหนังสือที่เกี่ยวกับการให้ความรู้ด้านสุขภาพสำหรับเด็กเรื่องอื่นๆ และนำผลการศึกษาไปใช้เป็นหนังสือส่งเสริมสุขภาพ
2.ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป
1.ควรมีการพัฒนารูปแบบของหนังสือส่งเสริมสุขภาพ ให้มีความน่าสนใจ มีขนาดที่สะดวก ง่ายต่อการพกพา เพื่อให้หนังสือมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
2.ควรมีหนังสือส่งเสริมสุขภาพ เรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสุขภาพ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพ
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
3.แบบประเมินคุณภาพสื่อ
4.แบบวัดความรู้
5.แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้หนังสือส่งเสริมสุขภาพ
2.หนังสือส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นตอนต้น
1.ข้อคำถามการสนทนากลุ่ม