Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปเนื้อหาจากวีดีโอ (video1 (การรักษาโรคต้อกระจกด้วยวิธีสลายต้อ…
สรุปเนื้อหาจากวีดีโอ
video1
การรักษาโรคต้อกระจกด้วยวิธีสลายต้อ (Phacoemulsification)พบในผู้สูงอายุเป็นโรคเบาหวานผู้ที่มีอายุ 55-60 ปีขึ้นไป มักประสบกับภาวะ ต้อกระจกซึ่งสาเหตุเกิดจากการเสื่อมสภาพของเลนส์แก้วตา ทำให้เลนส์ตาซึ่งปกติแล้วจะมีลักษณะโปร่งใสเหมือนกระจก กลายเป็นสีขาวขุ่น ส่งผลให้แสงผ่านเข้าไปยังจอประสาทตาได้น้อยลง ทำให้เกิดอาการตาฟางหรือมืดมัว มองเห็นภาพไม่ชัดการรักษาโรคต้อกระจกด้วยวิธีสลายต้อเป็นการผ่าตัดโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound) เข้าไปสลายเลนส์ที่เสื่อมสภาพในถุงหุ้มเลนส์แล้วดูดออกมาผ่านท่อขนาดเล็กมาก ถุงหุ้มเลนส์ยังคงอยู่ครบสมบูรณ์ทำให้สามารถใส่เลนส์แก้วตาเทียมขนาดเล็ก หรือเลนส์แก้วตาเทียมชนิดนิ่มพับได้เข้าไปแทนที่เลนส์แก้วตาเดิม การผ่าตัดวิธีนี้มักจะไม่ต้องเย็บแผล เนื่องจากแผลมีขนาดเล็กมากๆ ทำให้แผลสามารถติดกันโดยอัตโนมัติ
Video2
Extracapsular Cataract Extraction with Intraocular Lens (ECCE c IOL)
พบในผู้ป่วยสูงอายุเป็นโรคเบาหวาน
เป็นการผ่าตัดเอาแก้วตาออกเหลือแต่เปลือกหุ้มแก้วตาด้านหลังร่วมกับใส่แก้วตาเทียมหลังผ่าตัดผู้ป่วยสามารถมองเห็นชัดทันทีการมองเห็นภาพจะขนาดใกล้เคียงกับตาคนปกติมากที่สุดไม่ต้องสวมแว่นตา สามารถขจัดปัญหาการสูญหายของแว่นตาลงได
Video3
การทำผ่าตัดTrabeculectomy จะเป็นการผ่าตัดเพื่อเปิดทางระบายน้ำเลี้ยงลูกตาใหม่
พบในผู้ป่วยที่มีความดันลูกตาสูง
เพื่อลดความดันลูกตา การผ่าตัด แพทย์จะเปิดแผลที่ conjunctiva เข้าไปจนถึง sclera แล้วเลาะ sclera บริเวณที่ติดกับ limbus เป็น flap จากนั้นจึงเจาะด้านใต้ flap ตรงที่ติดกับcornea ที่สุดเป็นช่องเข้าไปใน anterior chamber แล้วทำ peripheral iridectomy จากนั้นเย็บflap กลับคืน พยายามปรับความตึงของไหมให้มี aqueous ซึมออกมาเล็กน้อย แล้วจึงเย็บconjunctival wound กลับคืนให้แน่นไม่ให้มีอะไรซึมออกมาได้ โดยทั่วไปพบว่า หลังผ่าตัดสามารถควบคุมความดันลูกตาได้ ๗๐-๙๐% ขึ้นกับชนิดของต้อหินและตัวผู้ป่วยเองในแต่ละคน และเนื่องจากผลในการลดความดันลูกตาอาจไม่ได้คงอยู่ตลอดไป อาจต้องมาผ่าตัดใหม่ได้อีก ปัจจุบันได้มีการนำ mitomycin มาใช้วางที่แผลตรง scleraในระหว่างผ่าตัด ทำให้ผลสำเร็จของการผ่าตัดดีขึ้น
Video4
การทำผ่าตัดIridotomy
พบในผู้ที่มีความดันลูกตาสูง
ใช้ในการรักษา และป้องกัน angle closure glaucoma โดยไม่ต้องผ่าตัดเข้าไปในลูกตา แต่ใช้contact lens วางบน cornea และ ยิงlaser ผ่านไปเจาะ iris ให้เป็นรู ทำได้โดยใช้ YAG laser ทำให้เกิด ปฏิกิริยา photodisruption มีการแยกตัวของ iris tissue อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดช่องว่างขึ้น หรืออาจใช้ Argon laser ยิงไปที่iris ทำให้มีการเกิดความร้อน และดึงให้iris แยกออกจากกัน
ใช้ในการรักษา และป้องกัน angle closure glaucoma โดยไม่ต้องผ่าตัดเข้าไปในลูกตา แต่ใช้contact lens วางบน cornea และ ยิงlaser ผ่านไปเจาะ iris ให้เป็นรู ทำได้โดยใช้ YAG laser ทำให้เกิด ปฏิกิริยา photodisruption มีการแยกตัวของ iris tissue อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดช่องว่างขึ้น หรืออาจใช้ Argon laser ยิงไปที่iris ทำให้มีการเกิดความร้อน และดึงให้iris แยกออกจากกัน ทั้ง๒วิธีอาจทำให้ม
Video5
การทำผ่าตัดIridotomy
ใช้ในการรักษา และป้องกัน angle closure glaucoma โดยไม่ต้องผ่าตัดเข้าไปในลูกตา แต่ใช้contact lens วางบน cornea และ ยิงlaser ผ่านไปเจาะ iris ให้เป็นรู ทำได้โดยใช้ YAG laser ทำให้เกิด ปฏิกิริยา photodisruption มีการแยกตัวของ iris tissue อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดช่องว่างขึ้น หรืออาจใช้ Argon laser ยิงไปที่iris ทำให้มีการเกิดความร้อน และดึงให้iris แยกออกจากกัน
ใช้ในการรักษา และป้องกัน angle closure glaucoma โดยไม่ต้องผ่าตัดเข้าไปในลูกตา แต่ใช้contact lens วางบน cornea และ ยิงlaser ผ่านไปเจาะ iris ให้เป็นรู ทำได้โดยใช้ YAG laser ทำให้เกิด ปฏิกิริยา photodisruption มีการแยกตัวของ iris tissue อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดช่องว่างขึ้น หรืออาจใช้ Argon laser ยิงไปที่iris ทำให้มีการเกิดความร้อน และดึงให้iris แยกออกจากกัน ทั้ง๒วิธีอาจทำให้ม
Video6
PPV (pars plana vitrectomy) คือ การผ่าตัดน้ำวุ้นตา เพื่อรักษา โรคทางจอประสาทตา โดยการตัดน้ำวุ้นตาจะช่วยลดการดึงรั้งของน้ำวุ้นตา และช่วยให้ แพทย์มองเห็นจอประสาทตาชัดเจนยิ่งขึ้นสามารถมองเห็นรูขาดหรือการดึงรั้งในจอประสาทตาได้ แพทย์จะใช้วิธีตัดน้ำาวุ้นตาเพื่อเห็นจอประสาทตาได้ ดีขึ้นสามารถมองเห็นรูขาดในจอประสาทตาได้ง่ายขึ้น การผ่าตัดหนุนตาขาว (scleral buckling) มีวัตถุประสงค์ ทําให้เกิดการหดตัวของตา เพื่อให้ตามีขนาดเล็กลง retinal pigment epithelium จะถูกดึงเข่าหา sensory retina ที่ลอกออกมาและติดกันเหมือนเดิม อาจทําร่วมกับการเจาะเอาตาที่อยู่ใต่ชั้นของจอประสาทตาออกโดย เจาะทะลุผ่านตาขาว (sclera) ทําให้sensory retina ราบลงมาติดกับ retinal pigment epithelium การทําให้เชื่อมติดกันระหว่างชั้นที่ลอก อาจทําได้โดยทําการจี้ดด้วยความรร้อนหรือความเย็นจัด
พบในผู้ป่วยกลุ่ม: โรคเบาหวานขึ้นตา
Video7
Myringotomy Insertion of Tube
การเจาะเยื่อแก้วหูและใส่ท่อระบาย การเจาะเยื่อแก้หูเพื่อระบายน้ำในหูชั้นกลาง และใส่ท่อเพื่อระบายน้ำ วิธีการทำจะให้ยานอนหลับ ยาแก้ปวด กับเด็ก แพทย์จะกรีดแผลเล็กๆที่เยื่อแก้หู และดูดเอาน้ำออกจากหูชั้นกลาง หลังจากนั้นจึงใส่ท่อเพื่อระบายน้ำหรือหนองที่จะมีขึ้นในภายหลัง ท่อนี้อาจจะทำจากโลหะหรือพลาสติก ท่อนี้จะเป็นการระบายน้ำ และอากาศ ท่อนี้จะหลุดใน 6-12 เดือน บางรายอาจจะจำเป็นต้องเอาออก รูที่เยื่อแก้วหูจะปิดเอง
พบในผู้ป่วยกลุ่ม: โรคหูชั้นกลางอักเสบ
ขั้นตอนการผ่าตัด
การดมยาสลบ
แพทย์มักจะให้ยาสลบดังนั้นในขณะผ่าตัดเด็กจะไม่รู้สึกตัว ระวังผ่าตัดจะมีการติดตามการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต ออกซิเจนในเลือด
การผ่าตัด
การผ่าตัดจะใช้เวลาประมาณ 15 นาทีแพทย์จะกรีดแผลเล็กๆที่เยื่อแก้วหู ใช้ท่อดูน้ำในหูชั้นกลางออก หลังจากนั้นจึงใส่ท่อระบายที่เยื่อแก้วหูหลักผ่าตัดจะนำเด็กไปยังห้องพักฟื้นเพื่อเฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด หากเด็กตื่นดี และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจึงให้เด็กกลับบ้านได้ หลังจากผ่า 24 ชั่วโมงเด็กจะมีกิจกรรมตามปกติ
Video8
การผ่าตัดโพรงจมูกและไซนัสด้วยกล้องเอ็นโดสโคป
(Endoscopic Sinus Surgery: ESS)การผ่าตัดเพื่อรักษาโรคต่างๆในโพรงจมูกและไซนัส
การผ่าตัดโพรงจมูกและไซนัสด้วยกล้องเอ็นโดสโคปผ่าตัดโดยวิธีดมยาสลบ หรือฉีดยาชาเฉพาะที่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค และความสมัครใจของผู้ป่วยแพทย์จะนัดให้ผู้ป่วยมาอยู่โรงพยาบาลอย่างน้อย 1 วันก่อนผ่าตัด เพื่อเตรียมความพร้อม โดยทั่วไปการผ่าตัดใช้เวลาประมาณ 1 – 3 ชั่วโมงซึ่งขึ้นกับชนิด และความรุนแรงของโรค หลังจากผ่าตัดเสร็จ แพทย์จะใส่วัสดุห้ามเลือดไว้ในโพรงจมูก ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยต้องหายใจทางปาก หลังผ่าตัด 24-48 ชั่วโมง แพทย์จะเอาวัสดุห้ามเลือดออก ซึ่งถ้าเอาออกได้หมด ไม่มีเลือดออกมากและผู้ป่วยแข็งแรงดีแล้ว ผู้ป่วยอาจกลับบ้านได้ในวันนั้น แต่หากผู้ป่วยยังไม่แข็งแรงดี มีปัญหาเลือดออกมาก แพทย์อาจให้ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาล เพื่อเฝ้าดูอาการต่ออีก 1 วัน
Video9
การผ่าตัดโพรงกระดูกมาสตอยด์ (mastoidectomy) มักทำในกรณีที่มีการอักเสบของโพรงกระดูกมาสตอยด์ มีหนองขังอยู่ภายในโพรงกระดูกมาสตอยด์ และไม่มีทางออก โดยเป็นการผ่าตัดบริเวณหลังหูเข้าสู่โพรงกระดูกมาสตอยด์ และนำหนอง หรือการอักเสบที่อยู่ภายในออก
พบในผู้ป่วย: หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน
Video10
ประสาทหูเทียม (Cochlear Implant) เป็นการจัดกลไกการได้ยินให้ใหม่ เมื่อมีสูญเสียการได้ยินแล้วใช้เครื่องช่วยฟังไม่ได้ผล การฝังประสาทหูเทียม ปัจจุบันเป็นเทคโนโลยีทางการแพทย์ชนิดเดียว ซึ่งสามารถฟื้นฟูสมรรถภาพของประสาทการได้ยิน ซึ่งการทำงานแตกต่างจากเครื่องช่วยฟังโดยเครื่องช่วยฟังทำหน้าที่ขยายเสียงให้ดังขึ้น แต่ในคนที่ประสาทหูเสื่อมเซลล์ขนที่รับเสียงในหูชั้นในมีปัญหา หรือถูกทำลายทำให้เสียงที่ได้ยินผ่านเครื่องช่วยฟังขาดความชัดเจนถ้าเซลล์ขนในหูชั้นในถูกทำลายมากก็ยิ่งทำให้เสียงที่ได้ยินนั้นขาดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ส่วนการทำงานของประสาทหูเทียมนั้นสัญญาณเสียงส่งตรงไปยังประสาทการได้ยินโดยไม่ผ่านเซลล์ขนซึ่งมีปัญหาในหูชั้นใน
การฝังประสาทหูเทียม สัญญาณเสียงส่งไปที่ประสาทการได้ยินโดยตรงโดยไม่ผ่านหูชั้นนอก หูชั้นกลาง และเซลล์ขนที่มีปัญหาในหูชั้นใน
-