Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกแรกเกิดจากมารดาติดสารเสพติด (การรักษา (ฟีโนบาร์บิทอล ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ…
ทารกแรกเกิดจากมารดาติดสารเสพติด
ผลกระทบของสารเสพติดต่อทารกในตั้งครรภ์
บุหรี่
Carbon monoxide (CO)
เป็นสารที่ท่าให้มารดาหลั่ง catecholamine มากขึ้น
หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง uteroplacental blood flow ลดลง และหัวใจทารกเต้นผิดปกติ
ทารกได้รับสารอาหารและออกซิเจนน้อย
สารอื่นๆเช่น cyanide
ทารกเจริญเติบโตและพัฒนาช้า
Nicotine
ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนน้อย
เป็นตัวที่ก่อให้เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ยาที่เป็นอันตราย
แอมเฟตามีน
ท่าให้ทารกในครรภ์มีความผิดปกติของหัวใจและระบบน้ำดีสูงกว่าปกติ
บาบิทูเรต
ท่าให้ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้าและหน้าตาผิดปกติ ถ้าเสพเป็นเวลานาน ทารกจะมีอาการติดยา และถ้าใช้ในระยะใกล้คลอด จะมีผลไกกดการหายใจของทารก
วาเลียม
ไม่มีรายงานว่าท่าให้ทารกมีความพิการ แต่ถ้าใช้ในระยะใกล้คลอดจะกดการหายใจ และเกิด reflex ท่าให้ทารกแรกเกิดมีภาวะขาดออกซิเจนจนต้องการช่วยการหายใจ กล้ามเนื้อจะอ่อนแรงและดูดนมได้ดี
ฝิ่น
มีผลกระทบต่อทารกเหมือนเฮโรอีน ถ้าใช้ระยะใกล้คลอด จะกดศูนย์ควบคุมการหายใจ
และท่าให้เกิดอาการถอนยาในทารกแรกเกิด
สุรา (Ethanol หรือ Acetaldehyde)
เป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่รบกวนการก่าเนิดอวัยวะ (Organogenesis) ในระยะเอมบริโอคือช่วง 6 – 8 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
การเจริญเติบโตช้า ก่อนและหรือหลังคลอด
เฮโรอีน
มารดาที่ติดเฮโรอีนมักไม่สนใจสุขภาพของตนเอง
ทารกที่มีภาวะเสี่ยงสูงเมื่อแรกคลอด
ทารกเกิดอาการถอนยา (Withdrawal symptom)
การดูแลทารกแรกคลอด
Methadone 1 – 2 mg วันละ 2 ครั้ง
Paregoric 0.1 – 0.5 mg/kg ทุก 4 ชั่วโมง และ diazepam 1 – 2 mg วันละ 2 ครั้ง
Phenobarbital 2 – 4 mg/kg ทุก 8 ชั่วโมง เป็นยาที่แนะนาให้ใช้
ค่อยๆ ลดปริมาณยาลงทุก 7 – 10 วัน จนกระทั่งหยุดยาไป
อาการของการขาดยา (Withdrawal symptoms)
ในระยะแรกจะมีอาการ กระวนกระวาย กระสับกระส่าย
คลื่นไส้ เหงื่อออก ง่วงเหงาหาวนอน น้่ามูกน้่าตาไหล แสบปวดท้อง ต่อมากระวนกระวายมากขึ้น ตัวสั่น อาเจียน ท้องเสีย กล้ามเนื้อหดเกร็ง มีไข้หนาวสั่น ความโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับปริมาณยา ระยะเวลาความถี่ของการใช้ยา ระยะเวลาหลังจากได้รับยาครั้งสุดท้าย
การรักษา
ฟีโนบาร์บิทอล ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 5 – 10 มิลลิกรัม /กิโลกรัม/วัน
Tincture opium มีส่วนประกอบของฝิ่นอยู่ 4 % ให้ผลดีส่าหรับบรรเทาอาการทางระบบทางเดินอาหาร
ท่าให้ลดการเคลื่อนไหว จึงลดอาการท้องเดินและอาเจียน
Chlorpromazine ให้รับประทานหรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 2 – 3 มิลลิกรัม /กิโลกรัม/วัน ช่วยลดอาการถอนยาได้โดยไม่มีอาการข้างเคียง ท่าให้อาการตัวสั่นหยุดไป
Diazepam ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 1 – 2 มิลลิกรัม ทุก 6 – 8 ชั่วโมง ยานี้มีประสิทธิภาพดี ในการระงับอาการทางระบบประสาท แต่ไม่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร
การรักษาแบบประคับประคอง
การป้องกัน
การค้นหาหญิงมีครรภ์ที่ติดยาเสพติด และช่วยเหลือให้ได้รับการรักษาและการดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างใกล้ชิด
อาการถอนยาเสพติดในทารกแรกเกิด
ส่วนมากจะแสดงอาการถอนยาภายใน 24 – 48 ชั่วโมงหลังคลอด
อาการทางระบบประสาท
ระบบประสาทถูกกด (CNS depression) ทารกจะมีอาการหาว จาม Mono reflex ลดลงหิวแต่ดูดไม่เป็น
ระบบประสาทถูกกระตุ้น (CNS instability) ทารกจะมีอาการแขนขาสั่นเทิ้มหรือสั่นทั่งตัว
อาจถึงชัก
อาการทางระบบทางเดินอาหาร
อาเจียน เป็นไข้ กินน้ำและนมได้น้อย ถ่ายเป็นน้ำ และถ่ายบ่อย ท่าให้มีอาการขาดน้่า และขาดสารอาหาร