Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการกู้ชีพทารกแรกเกิด (Neonatal Resuscitation Guidelines)…
แนวทางการกู้ชีพทารกแรกเกิด
(Neonatal Resuscitation Guidelines)
องค์ประกอบที่สาคัญ
อุปกรณ์และเครื่องมือ
อุปกรณ์ส่าหรับใส่ท่อหลอดลม
laryngoscope
blade เบอร์ 0 และ 1
ท่อหลอดลมคอ ขนาด 2.5, 3.0, 3.5, 4.0 ม.ม.
ยา
epinephrine 1:1,000
naloxone 0.4 มก/มล
sodium bicarbonate (NaHCO3)
sterile water
สารน้่า 5% D/W, 10% D/W, NSS, Ringer’s lactate PRC group Oสารน้่า 5% D/W, 10% D/W, NSS, Ringer’s lactate PRC group O
อุปกรณ์ส่าหรับให้ออกซิเจน
ฝาครอบหน้า (face mask) ของ ทารกขนาดต่าง ๆ (เบอร์ 0, 1, 2)
self-inflating resuscitation bag with oxygen reservoir
เบ็ดเตล็ด
ถุงมือ
หูฟัง
เข็มและ syringes ขนาดต่าง ๆ
feeding tube เบอร์ 5, 8
umbilical catheter เบอร์ 3.5, 5
ชุดส่าหรับใส่ umbilical catheter
แอลกอฮอล์, adhesive tape, กรรไกร
ผ้าอุ่นใช้เช็ดตัวและห่อตัวทารก
นาฬิกาจับเวลา
อุปกรณ์ส่าหรับดูดเสมหะ
ลูกยาง (bulb syringe)
เครื่องดูดเสมหะ
meconium aspirator
สายส่าหรับดูดเสมหะ เบอร์ 5, 8, 10, 12 หรือ 14F
อุปกรณ์ที่อาจมีเพิ่มเติม (optional)
flow inflating bag
oxygen blender
pulse oximeter
T- piece resuscitator
CPAP device
humidifier
เตียงทารกพร้อมอุปกรณ์ให้ความอบอุ่น - overhead radiant warmer bed
ขั้นตอนการแก้ไขช่วยกู้ชีพ
ตรวจสอบประวัติว่ามีปัจจัยเสี่ยงต่างๆหรือไม่ ทารกคลอด
ครบก่าหนดหรือไม่ ลักษณะของน้่าคร่่าเป็นอย่างไร (ใส ขุ่น มีสีเขียว หรือมีขี้เทาปน)
ประเมินทารกทันทีที่เกิด โดยดู ลักษณะการหายใจและความ
ตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ทารกไม่หายใจหรือหายใจช้า ความตึงตัวของ กล้ามเนื้อลดลง หรืออัตราเต้นหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง/นาที ควรใส่ท่อหลอดลมคอเพื่อดูดขี้เทาออกจาก หลอดลมโดยตรงผ่าน meconium aspirator ก่อนที่ทารกจะหายใจครั้งแรก
การประเมินสภาพทารก
ทารกหายใจดีและHRมากกว่าหรือเท่ากับ 100 ครั้ง/นาที สีผิวแดงดีให้ดูแลทารกต่อตามขั้นตอนปกติ
ถ้าทารกหายใจดีและHRมากกว่าหรือเท่ากับ 100 ครั้ง/
นาที แต่ยังเขียว ให้ออกซิเจน 5 ลิตร/นาที ผ่านทางสายยางใกล้กับจมูก
ถ้าทารกไม่หายใจ หรือหายใจเฮือก หรืออัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง /นาที ช่วยการหายใจโดยให้ออกซิเจนความดันบวกด้วยวิธีครอบหน้าด้วย bag & mask
ถ้าทารกไม่ดีขึ้นจากการใช้ bag และ mask ควรใส่ท่อหลอดลมคอ
ถ้าช่วยหายใจด้วยออกซิเจนความดันบวก 30 วินาที แล้ว อัตราการเต้นของหัวใจต่่ากว่า 60 ครั้ง/นาที ให้นวดหัวใจโดยกดที่หน้าอก
ไม่ดีขึ้นให้ใช้ epinephrine 1:10,000 ในปริมาณ 0.1-0.3 มล./กก. เข้าทางเส้นเลือดด่า
บุคลากร
ในกรณีที่มีการคลอดปกติ หรือการคลอดที่มีความเสี่ยงต่่า บุคลากรผู้ท่าหน้าที่
ช่วยเหลือเบื้องต้นคือ แพทย์หรือพยาบาลในห้องคลอด
ในกรณีของการคลอดที่มีความเสี่ยงสูง นอกจากผู้ท่าคลอดแล้ว ควรมีทีมบุคลากรที่ประกอบด้วยกุมารแพทย์ หรือวิสัญญีแพทย์/วิสัญญีพยาบาล ที่มีประสบการณ์และสามารถท่าการกู้ชีพทารกแรกเกิดได้ครบทุกขั้นตอน 1 คนร่วมกับพยาบาลที่มีความช่านาญหรือได้รับการฝึกฝนมาแล้วอีก 1 คน เป็นผู้ช่วยและควรมีเจ้าหน้าที่อีก 1 คน เพื่อคอยช่วยเหลือส่งอุปกรณ์และเตรียมยาต่างๆ รวมทั้งหมดเป็น 3 คน
การดูแลทารกแรกเกิดหลังการได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ
การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การดตรวจวัดความเข้มข้นของเลือด (Hct) และระดับน้่าตาลในเลือด
การติดตามการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
การวิเคราะห์ก๊าซในเลือด
การควบคุมอุณหภูมิกาย
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในทารกแรกเกิดที่ได้รับการช่วยกู้ชีพเป็นเวลานาน
ปัญหาการให้อาหาร (Feeding problems)
ภาวะน้่าตาลในเลือดต่่า (hyperglycemia)
ภาวะชักหรือการหยุดหายใจ (seizer or apnea)
ภาวะความดันเลือดต่่า (hypotension)
ภาวะเลือดเป็นกรด (metabolic acidosis)
ปอดบวมหรือภาวะแทรกซ้อนทางปอดอื่นๆ (pneumonia)
ภาวะความดันเลือดในปอดสูง (pulmonary hypertention)
การพิจารณาสิ้นสุดการช่วยฟื้นคืนชีพ ทารกแรกเกิด
พิจาณาหยุดเมื่อหัวใจทารกไม่เต้นหลังจากพยายามช่วยชีวิตอย่างเต็มที่นาน 10 นาที