Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกแรกเกิดจากมารดาติดสารเสพติด (ผลกระทบของสารเสพติดต่อทารกในตั้งครรภ์…
ทารกแรกเกิดจากมารดาติดสารเสพติด
ผลกระทบของสารเสพติดแต่ละชนิด
เฮโรอีน
ทารกในครรภ์จึงขาดสารอาหารทุกชนิด จนมีผลให้การเจริญเติบโตล่าช้าทุกด้านกลายเป็นทารกที่มีน้่าหนักตัวน้อย ไม่ได้สัดส่วนกับอายุจริงในครรภ์
ทารกในครรภ์ยังติดเฮโรอีนจากมารดา
ทารกแรก เกิดจึงมีอาการที่แสดงถึงการขาดสารเสพติดหรือที่เรียกว่า "อาการถอนยา"
สุรา
เป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่รบกวนการก่าเนิดอวัยวะ
ในระยะเอมบริโอคือช่วง 6 – 8 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ อวัยวะที่ถูกรบกวน คือ สมอง
การสูบบุหรี่
Nicotine
ทารกได้รับสารอาหารและออกซิเจนน้อย
หัวใจทารกเต้นผิดปกติ
Carbon monoxide (CO)
ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนน้อย ทำให้เจริญเติบโตช้า
มีน้่าหนักน้อย ยังทำให้ทารกปัญญาอ่อนด้วยในภายหลัง
cyanide
งขัดขวางการเจริญเติบโตของเซลล
การใช้ยาที่เป็นอันตราย
Major malformation
ความพิการที่ท่าให้ทารกไม่สามารถมีชีวิตรอดได้ เช่น anencephaly
ความผิดปกติที่ต้องการการผ่าตัดแก้ไขเพื่อให้มีชีวิตรอด เช่น เพดานโหว่ หัวใจพิการแต่ก่าเนิด ภาวะไส้เลื่อน
Minor malformation
ความพิการเล็กน้อย ที่ไม่ถึงกับท่าให้ทารกเสียชีวิต เช่น ear tags นิ้วเกิน
ผลกระทบของสารเสพติดต่อทารกในตั้งครรภ์
ทารกพิการแต่ก่าเนิด
น้ำหนักแรกคลอดต่ำ
ทารกติดเชื้อในครรภ์ หรือติดเชื้อตั้งแต่ก่าเนิด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ทารกแรกคลอดมีอาการของการขาดยา
ทารกเจริญเติบโตช้า
โอกาสเกิด sudden infant death syndrome (SIDS) สูง
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง
ให้อาหารที่มีแคลอรีพอเหมาะกับน้่าหนักตัว
ให้สารละลายให้เพียงพอเพื่อรักษาสมดุลในร่างกาย
การรักษาด้วยยา
ฟีโนบาร์บิทอล
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 5 – 10 มิลลิกรัม /กิโลกรัม/วัน
Tincture opium
ให้ทางปากในรูปของ 5 % ทิงเจอร์ฝิ่น 2 – 4 หยด ทุก 3 – 4 ชั่วโมง ถ้าอาการยังไม่สงบอาจเพิ่มให้อีก 1 – 2 หยด
ทุก 3 – 4 ชั่วโมง ให้ติดต่อกัน 2 – 3 สัปดาห์
Chlorpromazine
ให้รับประทานหรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 2 – 3 มิลลิกรัม /กิโลกรัม/วัน
Diazepam
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 1 – 2 มิลลิกรัม ทุก 6 – 8 ชั่วโมง
อาการถอนยาเสพติดในทารกแรกเกิด
อาการทาง
ระบบประสาท
ระบบประสาทถูกกด
ทารกจะมีอาการหาว จาม Mono reflex ลดลงหิวแต่ดูดไม่เป็น
ระบบประสาทถูกกระตุ้น
ทารกจะมีอาการแขนขาสั่นเทิ้มหรือสั่นทั้งตัว อาจถึงชักในบางราย ขยับตัวไปมา นอนหลับไม่สนิท ดิ้นมากจนหนังที่เท้าและเข่าถลอกแดง เป็นแผลลึก ใช้จมูกหรือศีรษะถูกับที่นอนจนเป็นรอยแดง กระสับกระส่ายมากกว่าปกติ
อาการทาง
ระบบทางเดินอาหาร
อาเจียน เป็นไข้ กินน้่าและนมได้น้อย ถ่ายเป็นน้่า และถ่ายบ่อย ท่าให้มีอาการขาดน้ำและขาดสารอาหาร
เมื่อขาดน้่ามากๆ ท่าให้เสียสมดุลของน้่าและ สารละลายในระบบไหลเวียนโลหิต อาการอื่นๆ เช่น เหงื่อออก หิวเร็วแต่ดูดไม่เก่ง ท้องอืด หายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็ว
อาการของการขาดยา (Withdrawal symptoms)
ในระยะแรกจะมีอาการ กระวนกระวาย กระสับกระส่าย คลื่นไส้ เหงื่อออก ง่วงเหงาหาวนอน น้่ามูกน้่าตาไหล แสบปวดท้อง
ต่อมากระวนกระวายมากขึ้น ตัวสั่น อาเจียน ท้องเสีย
กล้ามเนื้อหดเกร็ง มีไข้หนาวสั่น ความโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว
่การรับประทานวันละมากๆ เช่น วันละ 4 แก้วขึ้นไป อาจท่าให้เกิดการแท้งเองเพิ่มขึ้นบ้าง
การดูแลทารกแรกคลอด
ถ้าทารกคลอดก่อนก่าหนด หรือน้ำหนักแรกคลอดต่่า
ให้ระวัง เรื่อง RDS, hypoglycemia, hypocalcaemia, hyperbilirubinemia และ intraventricular hemorrhage
neonatal abstinence syndrome (NAS)
Phenobarbital 2 – 4 mg/kg ทุก 8 ชั่วโมง เป็นยาที่แนะน าให้ใช้
Methadone 1 – 2 mg วันละ 2 ครั้ง ก็ใช้ได้
Paregoric 0.1 – 0.5 mg/kg ทุก 4 ชั่วโมง และ diazepam 1 – 2 mg วันละ 2 ครั้ง ก็พอใช้ได้
ค่อยๆ ลดปริมาณยาลงทุก 7 – 10 วัน จนกระทั่งหยุดยาไป