Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด (Neonatal Resuscitation Guidelines)…
การช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด
(Neonatal Resuscitation Guidelines)
ความหมาย
การช่วยแก้ไขทารกที่มีปัญหาในระยะหลังมาตทันที ใน ทารกที่มีความเสี่ยงสูง การช่วยเหลืออย่างถูกต้องและทันท่วงที่จะช่วยลดทั้งอัตราตายและอัตราความพิการ
องค์ประกอบในการกู้ชีพ
1 ทีมบุคลากรที่มีความสามารถในการช่วยกู้ชีพทารกได้ตลอดเวลา
อุปกรณ์ เครื่องมือ,เวชภัณฑ์ ที่จําเป็นอย่างถูกต้อง ครบถ้วน พร้อมที่จะใช้งาน
จังหวะขั้นตอนในการแก้ไขกู้ชีพที่ถูกต้อง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
อุปกรณ์และเครื่องมือ
เตียงทารกพร้อมอุปกรณ์ให้ความอบอุ่น
Overhead radiant warmer bed
อุปกรณ์สําหรับตูดเสมหะ
ลูกยาง (bulb Syringe)
เครื่องดูดเสมหะ
meconium aspirator
สายสาหรับดูดเสมหะ
อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
ออกซิเจน, low ricter
ฝาครอบหน้า (face mask)
Self-inflating resuscitation bag with oxygen reservoir
อุปกรณ์ใส่ท่อหลอดลม
Laryngoscope
blade เบอร์ 0 และ 1
ท่อหลอดลมคอ ขนาด 2.5, 30, 35, 3.0 มม
ยา
epinephrine 1:1,000
naloxone 0.4 มก/มล
sodium bicarbonate (NaHCO3) - sterile water
ansia 5% D/W, 10% D/W.NSS, Ringer's lactate PRC group
เบ็ดเตล็ด
ถุงมือ,หูฟัง,เข็มและ Syringes ขนาดต่าง ๆ
feeding tube เบอร์ 5, 8 - ambitical catheter เบอร์ 3.5, 5
ชุดสําหรับไส่ urnbitical catheter
แอลกอฮอล์, adhesive tape, กรรไกร
ผ้าอุ่นไข้เข็ดตัวและห้อตัวทารก
นาฬิกาจับเวลา
อุปกรณ์ที่อาจมีเพิ่มเติม
flow Inflating bag
oxygen blender - pulse oximeter
T piece resuscitator - CPAP device
humirifier
บุคลากร
1 การคลอดปกติ หรือการคลอดที่มีความเสี่ยงต่ำ บุคลากรผู้ทําหน้าที่ช่วยเหลือเบื้องต้นคือ แพทย์หรือพยาบาลในห้องคลอด
2 การคลอดที่มีความเสี่ยงสูง มีทีมประกอบด้วยกุมารแพทย์ หรือวิสัญญีแพทย์ /วิสัญญีพยาบาล ร่วมกับพยาบาลที่มีความชํานาญหรือได้รับการฝึกฝน ผู้ช่วย และมีเจ้าหน้าที่ ส่งอุปกรณ์และเตรียมยาต่างๆ
ขั้นตอนการแก้ไขช่วยกู้ชีพ
มีการเตรียมพร้อมก่อน
โดยตรวจสอบประวัติว่ามีปัจจัยเสียงต่างๆ
ประเมินทารกทันทีที่เกิด
-ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ เพื่อตัดสินใจในการช่วยเหลือ
-ลักษณะการหายใจ
ในกรณีที่มีประวัติน้ำคร่ำมีขี้เทาปน
ทารกไม่หายใจหรือหายใจช้า ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลงกล้ามเนื้อลดลง อัตราเต้นหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง/นาที ควรใส่ท่อหลอดลมคอเพื่อตูดขี้เทาออกจาก หลอดลม
ทารกยังร้อง หายใจได้ดี ความตึงตัวของกล้ามเนื้อปกติอัตราเต้นหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง/นาที ไม่จําเป็นต้องใส่ท่อหลอดลมคอเพื่อดูดขี้เทา
การประเมินสภาพทารก
R ดี P > 100 ครั้ง/นาที แต่ยัง เขียว ให้ออกซิเจน 5 ลิตร/นาที
R ดี P >100 ครั้ง/นาที สีผิวแดง ให้ดูแลทารกต่อตามขั้นตอนปกติ
ไม่หายใจ หรือหายใจเฮือก หรือ P< 100 ครั้ง /นาที ให้ออกซิเจนความดันบวกด้วยวิธีครอบหน้าด้วย bag & mask
ถ้าทารกไม่ดีขึ้นจากการใช้ bag และ Mask ควรใส่ท่อหลอดลมคอ
ถ้าช่วยหายใจด้วยออกซิเจนความดันบวก 30 วินาที แล้ว P < 60 ครั้ง/ นาที ให้นวดหัวใจโดยกดที่หน้าอก สลับกับการให้ความดันบวกช่วยหายใจ
วิธีกดหน้าอก
2) Two finger technique
1) TWO- thumb-on circling hands
ถ้าให้ออกซิเจนความดันบวกรวมกับการกดหน้าอกแล้ว 30 วินาที P< 50 ครั้ง/นาที ให้ใช้ยาepingplatitute 1-10,000 ในปริมาน
ข้อบ่งชี้ในการให้สารน้ำ
ก. ทารกไม่ตอบสนองต่อการช่วยกู้ชีพ
ข. ทารกอยู่ในภาวะช็อก
ค. มีประวัติทารกในครรภ์เสียเลือด