Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาระขาดออกซิเจน (Birth Asphysia) (ผลของการขาดออกซิเจนต่ออวัยวะต่าง ๆ…
ภาระขาดออกซิเจน (Birth Asphysia)
ความหมาย
ทารกแรกคลอดหากไม่สามารถหายใจได้ จะทําให้ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ มีการตั้งของคาร์บอนไดออกไซด์ และมีอวัยวะร่างกายเป็นกรดตามมา เรียกว่า Birth asphysia
สาเหตุ
การเจ็บครรภ์และการคลอด
-ความดันโลหิตของมารดาต่ำ
-มารดาได้รับ sedative หรือยาแก้ปวดทางเส้นเลือดดําก่อนคลอด 1 ชม.
-ภาวะเจ็บครรภ์คลอดเป็นระยะเวลาเนิ่นนาน
-สายสะดือย้อย
-สายสะดือถูกกดทับ
-กดทับจากศีรษะจากการคลอดท่ากัน
-สายสะดือพันคอ
-สายสะดือผูกเป็นปม
คลอดโดยการใช้ Forceps extraction Vacuum extraction
คลอดท่ากันหรือท่าผิดปกติอื่น ๆ
คลอดโดยการผ่าตัดออกทางหน้าท้อง
ทารก
-Polyhydramnios
-ครรภ์แฝด คลอดก่อนกําหนด
-อัตราการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ลดลง
-น้ำคร่ำปนเปื้อนด้วยขี้เทา
-จังหวะหรืออัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
มารดา
-อายุมากกว่า 35 ปี โรคโลหิตจาง
-มีประวัติการตายในระยะหลังคลอดเดือนแรกของชีวิต (Neothalat death) ในครรภ์ก่อนๆ
-ติดยาเสพติดหรือสุรา มีการติดเชื้อ (Infection) ระหว่างการตั้งครรภ์ เช่น ซิฟิลิส หัดเยอรมัน
-การติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะ (U1uthary tract infection) ก่อนคลอด
-โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
Blood type or group isoimunization
-ตกเลือดก่อนคลอด
-ถุงน้ำแตกเป็นระยะเวลาเนิ่นนาน
พยาธิสภาพ
ทารกขาดออกซิเจน ทําให้เกิดการหายใจทางปาก หายใจไม่สม่ำสมอ และ หัวใจเต้นช้าลง ส่งผลให้เกิดภาวะเลือดเป็นกรด plH, PaO, สตลงแต่ PaCO2 เพิ่มขึ้น
การกระจายของเลือตไปสู่ อวัยวะต่างๆเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ปริมาณของเลือดที่ไปสู่ปอด ไต ลําไส้ และลําตัวจะลดลง ทําให้หลอดเลือดฝอยในปอด หดตัว (Pulmonary Masoconstriction)
มีเลือดไหลลัตผ่าน formen ovale และ tructus atteriosus เข้าสู่ระบบหลอดเลือดของร่างกาย
ผลของการขาดออกซิเจนต่ออวัยวะต่าง ๆ
ผลต่อระบบหายใจ
-การขาดออกซิเจนจะกดศูนย์หายใจทําให้หายใจช้าหรือหยุดหายใจ
-มีภาวะ Systemic hypotension
-เกิดการไหลเวียนลัดวงจรจากขวาไปซ้าย
-มีเกิดภาวะ persistent of the fetal Circulation
-การขยายตัวของถุงลม (Alveolar expansion)
-การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เพียงพอ
-ทําอันตรายต่อเซลล์ถุงลม ทําให้สูญเสียการทํางาน alveolar Cell type ||
-ไม่สามารถสร้าง (Meconium aspiration syndrome)
ผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
-ไตทํางานผิดปกติ
-เกิด infarction ของ nephron, tubular necrosis และ Freedullary necrosis
-ทารกจะปัสสาวะน้อยลง หรือไม่ถ่ายเลย หรือถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
-ถ้าออกซิเจนไม่รุนแรง กระเพาะปัสสาวะอาจเป็นอัมพาตชั่วคราว
ผลต่อสมองและระบบประสาท
สูญเสีย cerebral autoregulation mechanism
เลือดออกในสมอง
สมองบวมน้ำ สูญเสีย permeability
Hypoxic-ischeric encephalopathy ความรุนแรง
-รุนแรงมาก 0-2 คะแนน
-รุนแรงปานกลาง 3-4 คะแนน
-รุนแรงน้อย 5-6 คะแนน และยังขึ้นกับประสิทธิภาพของการช่วยฟื้นคืนชีวิต
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารอาจมี stress ulcers
ทําให้อาจอาเจียนเป็นเลือดและการขาตเลือตเฉพาะที่
จากการหดตัวของหลอดเลือต splanchnic
ทําให้เกิด necrotizing enterocolitis
ผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นช้าลง ทําให้เลือดรัวออกนอกหลอดเลือด จาก endothelium
หลอดเลือดสูญเสียหน้าที่ ทําให้ปริมาตรของแคือดที่ไหลเวียนลดลง
มีการลดลงของ stroka) Alume ห้องหัวใจกว้างขึ้น (Crix dilatation)
ความดันโลหิตต่ำ cardiogric shock
หัวใจมีการขาดออกซิเจนมากจะพบ bbwentricular failure
มีเลือดคั่งที่ปอดและที่ตับ ทําให้ปอดคั่งน้ำ
ubernikarium และ apillary rice ถูกทําลายและมีการตาย
ผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม
น้ำตาลในเลือดต่ำ
-เนื่องจากการสะสมกลัยโคเจนต่ำลงจากภาวะเครียด
-ทําให้ เพิ่มการหลั่งยอร์โมนอะดรีนาลิน
-จึงมีการใช้น้ำตาลมากขึ้น
-การที่เลือกไปที่ตับลดลงจะลดสมรรถภาพของตับ
แคลเซียมในเลือดต่ำ
แคลเซียมเคลื่อนเข้าสู่
-เซลล์สมอง
-เซลล์บุผนังหลอดเลือด
เซลล์ กล้ามเนื้อหัวใจ
การดูแลรักษา
รักษาตามระดับความรุนแรงของการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด โดยการกู้ชีพทารกแรกเกิด
อาการ
-ทารกแรกเกิดมีอาการเขียว ไม่หายใจ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
-หัวใจเต้นช้า รีเฟล็กซ์ลดลง
-ค่าคะแนนAPGAR Scoreที่ 1 และ 5 นาทีหลังเกิด น้อยกว่า 5
ต้องช่วยหายใจนานเกิน 2-3 นาที