Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์วิจัยเรื่องที่3 คุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนเขตพื้น…
วิเคราะห์วิจัยเรื่องที่3 คุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนเขตพื้นที่ 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
-
ผลการวิจัย
- ระดับคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนเขตพื้นที่ 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ในระดับสูง
- ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพได้แก่ อายุ รายได้ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระดับต่ำ
- ปัจจัยจากงานที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพได้แก่ ด้านค่าตอบแทน ด้านสภาพที่ทำงาน ด้านโอกาสพัฒนาขีด
ความสามารถ ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคง ด้านความสัมพันธ์ภายในหน่วยงาน ด้านการบริหารงาน ด้านความสมดุลของชีวิตกับงาน ด้านความภูมิใจในองค์กร และด้านความเครียด ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
-
-
วัตถุประสงค์การวิจัย
-
เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชนเขตพื้นที่ 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
ข้อเสนอแนะจากผู้วิจัย
1.1 ด้านความสมดุลของชีวิตกับงานควรบริหารจัดการด้านอัตรากำลังให้มีจำนวนพยาบาลวิชาชีพเหมาะสมกับปริมาณงานโดยออกแบบงานให้มีความยืดหยุ่น เหมาะกับสภาพแวดล้อมและความต้องการของผู้ใช้บริการ ผู้ปฏิบัติงานพึงพอใจ
1.2ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมจากผลการศึกษาที่พบว่าปัจจัยจากงานด้านค่าตอบแทนมีระดับคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง
1.3 ด้านความเครียด จากการศึกษาที่พบว่าปัจจัยจากงานด้านความเครียดมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตทุกด้านในระดับปานกลาง
2.1 หลีกเลี่ยงความเครียดที่ไม่จำเป็น รู้จักประมาณตน มีความพอเพียง ต้องเรียนรู้ที่จะปฏิเสธ เมื่อต้องทำในสิ่งที่เกินกว่าความสามารถ เกินกว่ากาลัง การฝืนทำในสิ่งเหล่านี้ย่อมล้มเหลวได้ง่าย และทำให้เกิดความเครียดตามมา
2.2 ปรับเปลี่ยนสถานการณ์ หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงความเครียดได้ การปรับเปลี่ยนให้สถานการณ์ที่เกิดขึ้นสร้างความเครียดให้น้อยลง
2.3 ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ ปรับตัวตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ตั้งแง่ต่อต้านกับสถานการณ์ที่สร้างความเครียด หมั่นให้กำลังใจตัวเองควบคู่ไปกับการเติมพลังอย่างสม่ำเสมอ
- ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยต่อไป
จากการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามไม่ได้แสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะเพิ่มเติมเลยทั้งนี้อาจเนื่องจากข้อจำกัดในเรื่องของเวลาและภารกิจ การศึกษาต่อไปจึงควรใช้การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อให้ได้รายละเอียดมากขึ้น
-
-