Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสาร…
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (Computer network) หมายถึงระบบสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จ านวนตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
และสารสนเทศ รวมถึงใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ร่วมกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทส าคัญต่อหน่วยงานต่างๆ โดยท าให้เกิดการท างานร่วมกันเป็นกลุ่มท างาน
ในเวลาเดียวกันได้ สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน และใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลแบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน
ประเภทของระบบเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกตามขนาดของเครือข่ายได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
1) ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (local area network: LAN) เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ใช้กันอยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก อาจอยู่ในองค์กรเดียวกัน หรืออาคารที่ใกล้กัน เช่น ส านักงานภายในโรงเรียน หรือภายใน
มหาวิทยาลัย
2) ระบบเครือข่ายระดับเมือง (metropolitan area network: MAN) เป็นเครือข่ายขนาดกลางที่ใช้ภายในเมืองหรือจังหวัดใกล้เคียงกัน เช่น ระบบเคเบิลทีวีที่มีสมาชิกตามบ้านทั่วไป การฝากถอนเงินผ่านระบบ
เอทีเอ็ม
3) ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (wide area network : WAN) เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ใช้ติดต่อ
บริเวณกว้าง มีสถานีหรือจุดเชื่อมต่อมากกว่า 1 แสนจุด ใช้สื่อกลางหลายชนิด เช่น ระบบคลื่นวิทยุคลื่นไมโครเวฟ หรือดาวเทียม และการใช้อินเทอร์เน็ตก็จัดว่าเป็นการติดต่อสื่อสารในระบบเครือข่าย
ระดับประเทศด้วย
รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย (Network Topology)
คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป สามารถติดต่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้วยอุปกรณ์เชื่อมต่อเช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิล คลื่นไมโครเวฟ
การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีหลายรูปแบบ ดังนี้
1) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส (Bus network)
2) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว (Star network)
3) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบวงแหวน (Ring network)
4) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม (Hybrid network)
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่าย
ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึงระบบการถ่ายโอนข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างต้นทางหรือปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม คอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ ดาวเทียม ซึ่งควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่าย
1) ข่าวสาร (message)
2) แหล่งก าเนิดข่าวสาร (source)
3) สื่อหรือตัวกลาง (medium)
4) แหล่งรับข่าวสาร (receiver)
5) โพรโทคอล (protocol)
สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
6.1 สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย
1) สายคู่บิดเกลียว (twisted pair)
2) สายโคแอ็กเซียล (Coaxial cable)
3) สายใยแก้วน าแสง (fiber-optic cable)
6.2 สื่อหรือตัวกลางประเภทไร้สาย
1) คลื่นวิทยุ (radio frequency)
2) ดาวเทียม (satellite)
3) คลื่นไมโครเวฟ (microwave)
4) อินฟราเรด (Infrared)
อุปกรณ์เครือข่าย
เมื่อต้องการเชื่อมเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกัน จ าเป็นต้องมีอุปกรณ์ประกอบที่ท าให้การรับ-ส่ง
ข่าวสารต่างๆ เชื่อมโยงถึงกัน โดยทั่วไปเรามักใช้ระบบการรับ-ส่งข้อมูลเป็นชุดเล็กๆ ที่เรียกว่า แพ็กเกจ ซึ่งเป็นข้อมูล สามารถเคลื่อนที่จากต้นทางไปยังปลายทางได้ โดยผ่านอุปกรณ์จัดเส้นทางโดยปกติเมื่อมีการก าหนดต าแหน่งที่อยู่หรือแอดเดรส (address) ของตัวรับและตัวส่ง จะต้องมีต าแหน่ง
ที่อย่ปรากฏในแพ็กเกจ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อในเครือข่ายทุกหน่วยจึงมีตำแหน่งกำกับ ซึ่งตำแหน่งที่อยู่มีรูปแบบชัดเจน และได้รับการก าหนดเป็นมาตรฐาน เช่น ต าแหน่งที่อยู่ใช้ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะใช้รหัสตัวเลขหรือ
ที่เรียกว่า ไอพีแอดแดรส (IP address) ซึ่งเป็นหมายเลขประจ าเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในระบบเครือข่ายที่ใช้โพรโทคอลแบบ TCP/IP
1) ฮับ (Hub)
2) สวิตช์ (Switch)
3) อุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราเตอร์ (Router)
โพรโตคอล
โพรโตคอล คือ ข้อก าหนดหรือข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ หรือภาษาสื่อสารที่ใช้เป็น
ภาษากลางในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกเชื่อมโยงกันไว้ในระบบจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้นั้น จ าเป็นจะต้องมีการสื่อสารที่เรียกว่า โพรโตคอล (Protocol) เช่นเดียวกับคนเรา
ที่ต้องมีภาษาพูดเพื่อให้สื่อสารเข้าใจกันได้
ตัวอย่างโพรโตคอล มีดังนี้
ทีซีพี/ไอพี(TCP/IP : Transmission
Control Protocol/Internet Protocol)
เอฟทีพี(FTP : File Transfer Protocol)
เอชทีทีพี(HTTP : Hyper Text Transfer)
เอสเอ็มพีที(SMPT: Simple Mail
Transfer Protocol)
พีโอพีทรี(POP3: Post Office
Protocol-3)
ไวไฟ(Wi-Fi: Wireless Fidelity)
2 more items...
ใช้ในการดึงไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล (e-mail) ไปยัง
กล่องรับไปรษณีย์ (mailbox) ของผู้ใช้บริการมาเก็บไว้ในเครื่อง
ใช้ในการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล (e-mail) ไปยัง
กล่องรับไปรษณีย์ (mailbox) ที่เป็นจุดหมายปลายทาง
ใช้ในการส่งเพจ (web page) ที่อยู่บนเครื่องบริการข้อมูล
(server) มาให้เครื่องใช้บริการ (client)
ใช้ส าหรับการส่งโอนไฟล์ข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจะ
เรียกการโอนไฟล์จากเครื่องให้บริการข้อมูล มาที่เครื่องใช้บริการใช้ส าหรับการส่งโอนไฟล์ข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจะ
เรียกการโอนไฟล์จากเครื่องให้บริการข้อมูล มาที่เครื่องใช้บริการ
ใช้ในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการที่
แตกต่างกัน และอยู่บนเครือข่ายที่ต่างกัน ให้สามารถสื่อสารกัน
การถ่ายโอนข้อมูล
9.1 การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
ท าได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 บิต จากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ตัวกลางระหว่างสอง
เครื่องจึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางอย่างน้อย 8 ช่องทาง เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านโดยมากจะเป็นสายสัญญาณแบบขนาน ระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานระหว่างสองเครื่องไม่ควรยาวเกิน 100 ฟุต
9.2 การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต ระหว่างจุดส่งและจุดรับ การส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ากว่าแบบขนาน
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการตัวกลางส าหรับการสื่อสารเพียงช่องเดียวหรือสายเพียงคู่เดียว ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าแบบขนานส าหรับการส่งระยะทางไปไกลๆ โดยเฉพาะเมื่อเรามีระบบสื่อสารทางโทรศัพท์ไว้ใช้งานอยู่
แล้ว ย่อมจะเป็นการประหยัดกว่าที่จะท าการติดต่อสื่อสารทีละ8 ช่อง เพื่อการถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมจะเริ่มโดยข้อมูลจากจุดส่งจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณอนุกรมเสียก่อน แล้วค่อย
ทยอยส่งออกทีละบิตไปยังจุดรับ
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม อาจจะแบ่งตามรูปแบบรับ-ส่ง ได้ 3 แบบคือ
1) สื่อสารทางเดียว (simplex)
2) สื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex)
3) สื่อสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex)