Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 ปรัชญาการศึกษากลุ่มอนุรักษนิยม (ปรัชญาสาขาสารัตถนิยม (จุดมุ่งหมาย …
บทที่ 5 ปรัชญาการศึกษากลุ่มอนุรักษนิยม
ปรัชญาสาขาสารัตถนิยม
จุดมุ่งหมาย
ของการศึกษา
ให้การศึกษาในสิ่งที่เป็นเนื้อหาสาระ
(Essential subject-matter)
ให้การศึกษาเพื่อการเรียนรู้ในเรื่องของความเชื่อ
ทัศนคติ และค่านิยมของสังคมในอดีต
ธำรงรักษาสิ่งต่างๆ ในอดีตเอาไว้
องค์ประกอบของการศึกษา
หลักสูตร
เน้นเนื้อหา เป็นสำคัญ
(Subject-matter Oriented)
ครู
(เป็นผู้กำหนด ตัดสิน และดำเนินการศึกษาทั้งหมด)
เป็นผู้รู้เนื้อหาที่ถูกต้องเหมาะสมที่สุดในห้องเรียน
เป็นผู้กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้เด็กเรียนดีที่สุด
เป็นผู้ตัดสินว่า นักเรียนเรียนไปมากน้อยแค่ไหนแล้ว
เป็นผู้นำของห้องเรียนแลถือว่าเป็นผู้นำที่ฉลาดรอบรู้
เป็นแบบแผนและเป็นแม่พิมพ์ของการศึกษา
ผู้เรียน
เป็นไปตามแนวทางที่ผู้ใหญ่ หรือสังคม
หรือครู ได้กำหนดไว้ ผู้เรียนจึงเป็นผู้รับ ผู้ฟัง
กระบวนการของการศึกษา
กระบวนการเรียนการสอน
ขึ้นอยู่กับครูเป็นสำคัญ
กระบวนการบริหาร
ระบบบริหารแบบสั่งงาน
(Bureaucratic Model)
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
ไม่ได้เน้นเนื้อหาที่นำไปใช้ทันที
มุ่งเน้นที่เข้าใจ จดจำ นำไปใช้ภายหลัง
โอกาสที่เด็กจะมีความคิดริเริ่ม
เป็นตัวของตัวเองน้อย
ในระยะยาวเด็กจะไม่กล้าแสดงความคิดเห็น
ไม่กล้าแสดงออก คอยแต่รับฟังผู้ใหญ่อย่างเดียว
ไม่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคลของเด็กเท่าที่ควร
แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงได้บ้าง
แต่การเปลี่ยนแปลงก็ยังยึดของเดิมอยู่มาก
ไม่คำนึงถึงหลักการของประชาธิปไตย
เท่าที่ควร
มักจะได้ประโยชน์โดยตรง
กับคนกลุ่มน้อย
ปรัชญาสาขานิรันตรนิยม
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
ให้ผู้เรียนรู้จักและทำความเข้าใจ
กับตนเองให้มากที่สุด โดยเฉพาะเรื่องเหตุและผล
พัฒนาสติปัญญาและเหตุผลในตัวมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้น
สูงขึ้น สมบูรณ์เพื่อความเป็น
คนที่สมบูรณ์
มนุษย์มีเหตุผลกับทุกคน
องค์ประกอบของการศึกษา
หลักสูตร
การฝึกฝนให้ผู้เรียนเป็นผู้รู้
ที่รู้จักใช้สติปัญญา เหตุผล อย่างอิสระ
ครู
(ผู้รู้ มิใช่ป้อนความรู้ฝ่ายเดียว)
เพิ่มบทบาทในการจัดกิจกรรม
เปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้และพัฒนา
ผู้เรียน
ฝึกฝนด้วยตนเอง
แลกเปลี่ยน
อภิปรายกับครูภายใต้คำแนะนำ
กระบวนการของการศึกษา
กระบวนการเรียนการสอน
(เน้นที่การกระตุ้น และหนุนให้ศักยภาพดังกล่าว
ได้พัฒนาเติบโต มีความสมบูรณ์
กระบวนการบริหาร
การสร้างความมีเหตุผล
การสร้างสติปัญญาขึ้นใน
ตัวของผู้เรียนเอง
บทบาทต่อสังคม