Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาท และไขสันหลัง (ภาวะความดันในกะโหลก…
การพยาบาผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาท
และไขสันหลัง
การประเมินทางระบบประสาท
การสังเกต
ท่าเดิน
ท่านอน
ความผิดปกติของใบหน้า
หนังตาตก
ตาเหล่
สนทนา
บุคลิกภาพ
พฤตืกรรม
การพูด
อารมณ์
การซักประวัติ
อาการสำคัญ
อาการเจ็บป่วยปัจจุบัน
การเจ็บป่วยในอดีต
การเจ็บป่วยในครอบครัว
ความผิดปกติตามระบบ
การตรวจร่างกาย
ทั่วไป
ความผิดปกติขิงโครงร่าง
ลักษณะกระดูกสันหลัง
ก้อนโป่งนูน
ระดับความรู้สึกตัว ( LOG )
รู้สึกตัวดี
กระสับกระส่าย สับสน
ง่วงซึม
ซึม หลับตลอด ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
กึ่งหมดสติ ไม่รู้สึกตัว ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นรุนแรง
หมดสติ ไม่ตอยสนองต่อสิ่งกระตุ้นรุนแรง
การทำงานของระบบประสาท ( GCS )
การลืมตา (4)
การเคลื่อนไหว (6)
การสื่อสาร (5)
ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ
ระดับปานกลาง 9-12
ระดับรุนแรง ต่ำกว่า 8 ลงไป
ระดับเล็กน้อย 13-15
การตรวจความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การตรวจปฎิกิริยารูม่านตา
การตรวจสัญญาณชีพ
Cushing reflex
PR ช้า
cheyne stoke brething
pulse pressure กว้างกว่า 60 mmHg
BT มากกว่า 38 ํc
บาดเจ็บไขสันหลังส่วนคอ
BP ต่ำ
bradycadia
BT ต่ำ (ซิมถูกทำลาย)
การตรวจอาการแสดงที่เกิดจากการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมอง
stiffness of neck งอคอไม่ได้ ยกศีรษะไม่ได้ คางไม่ชิดอก
Brudzinski's sign
Kernig's sign
การตรวจพิเศษ
skull & spinal x-ray
cerebral angiography
ก้อนเนื้องอก
หลอดเลือดสมองโป่งพอง
หลอดเลือดอุดตัน
ct scan
ฉีด contrast (อาหารทะเล)
ทำ 45 นาที ภาพ 3 มิติ
MRI
ใช้คลื่นความถี่วิทยุ
ตรวจเนื้องอก
การติดเชื้อ
เลือดออกในสมอง
ความผิดปกติของหลอดเลือด
เจาะหลัง
เจาะL2,3 L3,4
พบการติดเชื้อ WBC สูง glucose ต่ำ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ (traumatic brain injury:TBI)
สาเหตุ
อุบัติเหตุ ถูกยิง
การตกจากที่สูง
กีฬาและนันทนาการ
ทำร้ายร่างกาย
กลไกการเกิดการบาดเจ็บ
การบาดเจ็บโดยตรง
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะหยุดนิ่ง เช่น การถูกตี ถูกยิง
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่ เช่น รถชน จะเกิดการบาดจ็บแก่สมองส่วนนั้นและมักมีการแตกร้าวของกะโหลก ส่วนสมองด้านตรงข้ามอาจจะมีการฉีกขาดและมีเลือดออกร่วมด้วย
การบาดเจ็บโดยอ้อม
การบาดเจ็บที่ส่วนอื่นแล้วมีผลให้เกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะ เช่น ตกจากที่สูง
พยาธิสภาพ
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก
หนังศีรษะ (scalp) บวม ช้ำ โน ถลอก ฉีกขาด
กะโหลกศึรษะ
แตกร้าวเป็นแนว
แตกร้าวเป็นฐาน+แนวตามขวางของกระดูกด้านข้าง อาการ รอยเขียวช้ำหลังหู แก้วหูฉีกมีเลือดออก น้ำ/เลือดออกทางจมูก/รูหู เบ้าตาเขียวช้ำ
กะโหกแตกยุบมีการฉีกขาดของduraหรือเนื้อสมองร่วมการฉีกขาดของหนังศีรษะ
เนื้อสมองกระทบกระเทือน
แบ่งออกเป็น 3 เกรด
I ไม่หมดสติ สับสนสั้นๆ <15m
II ไม่หมดสติ สับสนชั่วคราว >15m
III หมดสติ
อาจพบพฤติกรรมเปลี่ยน
เนื้อสมองช้ำ
เลือดแทรกระหว่างเซลล์สมองใต้เยื่อเพีย เนื้อสมองสีคล้ำ
กลไกการเกิด
cavitation theory
Rotational acceleration
sudden positive pressure
skull distortion & head rotation hypothesis
การบาดเจ็บทั่วไปของเนื้อสมองส่วนสีขาว บาดเจ็บศีรษะรุนแรง
เนื้อสมองฉีกขาด เนื้อสมอง+เยื่ออแรคนอยด์+เยื่อเพีย
บาดเจ็บระยะที่สอง
intracranial hematoma
epidural hematoma ก้อนเลือดรวมตัว middlemeningeal+superior sagittal sinus+diploic เกิดบ่อยตรง temporal bone talk and die syndrome อาการดี แต่ทรุดเร็ว
subdural hematoma cortical+bridgingใต้เยื่อดูรา
subacute subdural hematoma เกิดก้อนเลือดใต้เยื่อดูรา 72hr-2weeks
chronic subdural hematoma เกิดก้อนเลือดใต้เยื่อดูรา 2 weeks ขึ้นไป
acute subdural hematoma เกิดก้อนเลือดเร็ว ใหญ่ 24-72hr
intracerebral hematoma
เลือดออกใน parenchymal tissue >2cm+การช้ำของสมองส่วนผิว โดยเฉพาะ frontal&temparol
สมองบวม (cerebral edema)
vasogenic edema BBBเสียหน้าที่ทำให้มีน้ำและโปรตีนรั่วเข้าสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์
cytotoxic edema เสียหน้าที่ขับNa+ออกเซลล์ ทำให้Na+และน้ำสูงในเซลล์
ความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูง (increased intracranial pressure)
มี ventricular fluid pressure 10-15 mmHg / 100-200 mmH2O ขึ้นไป
ภาวะสมองเคลื่อน (brain displacement)
บริเวณใต้รอยแบ่งกึ่งกลางระหว่างสมองใหญ่สองซีก/ฟอลซ์ เซเรไบร
บริเวณช่องว่างระหว่างเทนทอเรียม
axialbain stem/central tentorial herniation
lateral/uncal tentorial herniation
posterior/tectal tentorial herniation
บริเวณช่องใต้กะโหลก จะกดส่วนเมดัลลาเกิดการหยุดหายใจ
ภาวะแทรกซ้อน
hydrocephalus
post cocussive syndrome
carotid cavernous fistula (CCF)
seizure
การวินิจฉัย
cerebral angiography
CSF analysis
MRI
serum laboratory study
CT scan
LP
cervical spine x-ray
positron emission tomography
skull x-ray
การรักษา
ดูแลทางเดินหายใจ
Blood gas Pa O2 80-100 mmHg Pa CO2 30-35 mmHg
ดึงน้ำออกจากร่างการ
20-25% Menitol solution ต่อ 1-2Kg/BW ใน 60 min
50-75% Glycerol ทาง NG feed
Furosimind
ให้ยาจำกัดกิจกรรม&ลดmetabolism
sedative drug/barbiturate
การผ่าตัด
Craniotomy
Ventriculostomy
การพยาบาล
ดูแลสมดุลสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ กรดด่าง
ประเมินสัณญาณชีบ BT<38
ประเมินอาหการทางระบบประสาท
ช่วยให้ผู้ป่วยได้ลดความเจ็บปวด ได้พักผ่อน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง รับO2เพียงพอ
ดูแลรักษาสมดุลภาวะโภชนาการ
ดูแลการขับถ่ายอุจจาระปัสสาวะให้เป็นปกติ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในระบบต่างๆ
ประคับประคองจิตใจผู้ป่วย ญาติ
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP)
กลุ่มอาการที่มีผลจากความสมดุลของปริมาตรและความดันภายในกะโหลกศีรษะ ปกติ0-15mmHg >20mmHg อันตรายต่อเนื้อสมอง
สาเหตุ
blood
hematoma
vasodilation
hypoventilation
hypoxia/hypercarbia
venous outflow
CSF
CSF pathway abstruction
Increase CSF production
Decrease CSF absorbtion
brain volume
stroke
reactive edema
HI
tumor
abscess
พยาธิสภาพ
มีปริมาตรการเพิ่มของน้ำในช่องว่างและลดลงในเวลาเดียวกัน
จะมีความดันเพื่มมากขึ้นเมื่อกลไกการชดเชยลดลง
skull non-distensible cavity
กลไกการชดเชยของIICP
Volume
เหิ่มการขับCSFในสมองและเวนตริเคิลลงไขสันหลัง
เพิ่มการดูดกลับและลดการสร้างCSF
มีการหดของหลอดเลือดสมอง เพิ่มการไหลกลับของเลือดดำ
cerebral blood flow
ขนาดของหลอดลเือดจะหด/ขยาย เพื่อให้ปริมาณเลือดไปเลี้ยงสมองคงที่ ได้รับ O2เพียงพอ
CPP = MAP-ICP
ระยะ IICP
I ปวดหัว มีประวัติHI V/S,การตอบสนองของpupil ปกติ
II mental status change V/S,การตอบสนองของpupil ปกติ
IV comatose pupil dilate ab.position cushing`s triad
III decrease LOG vomiting small pupil cushing`s triad
อาการ
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
cushing`s triad
การเคลื่อนไหวลดลง กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ปวดศีรษะ อาเจียนพุ่ง รูม่านตาบวม
หายใจแบบ cheyne stroke
BT สูงขึ้น
การรักษา
ติดตาม ICP,CPP,V/S,arterial pressure
การผ่าตัด
ventriculostomy ระบาย CSF
craniotomy/craniectomy
รักษาด้วยยา
barbiturate : pentobarbital,thiopental
reduce cellular metabolic demand
เพิ่ม CCP ลด ICP : dopamine,phynylephrine
steroid : decadron
osmotic diuretic : mannitol
ดูแลการหายใจ Pa O2>60% Pa CO2 30-35 mmHg
temperature control
restrict fluids
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยา สารน้ำ
ประเมินI/O,Bowel sound การขับถ่าย
เลี่ยงที่จะทำให้เกิดแรงดันในช่องอก การเกร็ง ผูกมัด
ลดความไม่สุขสบาย ดูแลความสะอาด
ดูแลได้รับO2 ดูดเสมหะตามความจำเป็น ติดตาม ABG
ลดกิจกรรมทางการพยาบาลที่รบกวนผู้ป้วยโดยไม่จำเป็น
V/S,N/S,LOG,GCS q 15-30min/1hr
ดูแลป้องกันอันตรายที่เกิดจากการชัก
นอนศีรษะสูง 30 ํ เลี่ยงการงอข้อสะโพก นอนคว่ำ ศึรษะต่ำ
spinal cord injury
สาเหตุ
tramatic อุบัติเหตุ ถูกยิง แทง ตกจากที่สุง กีฬา
non-traumatic ช่องไขสันหลังตีบ กระดูกพรุน เส้นประสาทอักเสบ เนื้องอกช่องอก ท้อง โรคหลอดเลือด
ความรุนแรงของการบาดเจ็บ
บาดเจ็บโดยสมบูรณ์ เกิดภาวะspinal shock
บาดเจ็บบางส่วน มีความรู้สึกอยู่ sacral sparing
กลไกการบาดเจ็บ
ปฐมภูมิ
ชอกช้ำ บวม มีเลือดออกเป็นจุด
ฉีกขาด อาจฉีกบางส่วนหรือขาดออกจากกัน
ได้รับความกระทบกระเทือน แต่พ้นระระจะกลับมาทำงานปกติ
ทุติยภูมิ
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
ระบบประสาทส่วนกลาง
สูญเสียการรับความรู้สึก การเคลื่อนไหว
ระบบประสาทส่นปลาย
เสียการรับรู้ทางผิวหนัง ไม่มีความรู้สึก
ระบบประสาทอัตโนมัติ
ยับยั้งซิมพาเทติค มีผลต่ออวัยวะภายใน
ระบบหายใจ
กระบังลมไม่ทำงาน เกิดปอดแฟบ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หลอดเลือดขยายตัว ทำให้ไหลกลับลดลง decrease cadiac output
ระบบทางเดินอาหาร
ลำไส้บีบตัวลดลงไม่เคลื่อนไหว ท้องอืด
ระบบกล้ามเนื้อ
อัมพาตทั้งตัว/ครึ่งท่อนล่าง ยกแขนไม่ได้
ระบบผิวหนัง
อุ่น แห้ง
การรักษา
ไม่ผ่าตัด
skull traction
cast,orthosis
ผ่าตัด
ORIF
Harrington rod
Lamina
spinal decompression
รักษาด้วยยา methyl prednisolone <8hr
กายภาพบำบัด
ป้ิองกันภาวะแทรกซ้อน
ข้อยึดติด
ป้องกันการติดเชื้อ
แผลกดทับ
ป้องกันภาวะทุโภชนาการ
deep vein thrombosis
รักษาอาการทางจิต
ภาวะแทรกซ้อน
Autonomic dysreflexia
spinal shock
Respiratory failure
death
Autonomic dysreflexia
สาเหตุ
ได้รับบาดเจ็บกระดูกอกชิ้นที่ 6 (T6) และพ้นระยะ spinal shock
อาการ
sympathetic หลอดเลือดหดตัว BPสูง
parasympathetic ชีพจรช้า หลอดเลือดขยาย
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง
ตาพร่า
หายใจเร็ว
หน้าแดง เหงื่อออก
สิ่งกระตุ้น
การคั่งของกระเพาะปัสสาวะและลำไส
แผลกดทับ
การหดเกร็งกล้ามเนื้อ ความเจ็บปวด
การกระตุ้น rectum
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
ความผิดปกติในช่องท้อง
อาการแทรกซ้อน
retina hemorrhage
subarachnoid hemorrhage
hypertensive stroke
ปอดบวมน้ำ
หัวใจขาดเลือด
การพยาบาล
นอนศีรษะสูง ในรายที่ไม่มีข้อห้าม
แก้ไขปัจจัยกระตุ้นต่างๆ
ให้ยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา
สอนผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
Deep vein thrombosis
การประเมินและป้องกัน
ยกขาให้สูงกว่าระดับหัวใจ
สวมถุงเท้าเพื่อป้องกัน embolism
ถ้าสงสัยงดบริหารส่วนที่เป็น
วัดเส้นรอบวงต้นขา เพื่อประเมินอาการบวม
อาจให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด