Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ปรัชญาการศึกษา กลุ่มเสรีนิยม (ปรัชญาสาขาปฏิรูปนิยม (สร้างค่านิยม…
บทที่ 6 ปรัชญาการศึกษา
กลุ่มเสรีนิยม
ปรัชญาสาขาพิพัฒนนิยม
การศึกษาจะต้องพัฒนาเด็ก
ทุกด้านไม่เฉพาะสติปัญญาเท่านั้น
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
ให้การศึกษาทุกด้าน
(กาย อารมณ์ สังคม อาชีพ)
องค์ประกอบของการศึกษา
หลักสูตร
(เน้นที่ประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ)
(Child-centered Curriculum)
ครู
(การเตรียม การแนะนำ และให้คำปรึกษา)
นักเรียน
(ลงมือทำด้วยตนเอง)
(Leaning by Doing)
กระบวนการของการศึกษา
กระบวนการเรียนการสอน
(การกระทำ มากกว่า ความรู้)
เน้นความเข้าใจ
ความถนัดของผู้เรียน
เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน
ครูจัดสิ่งแวดล้อม
ให้เด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง
เด็กควรได้รับประสบการณ์ตรง
เรื่องที่ศึกษา
ผู้เรียน ควรได้รับความช่วยเหลือ
ให้รู้จักวิเคราะห์ปัญหา แก้ปัญหา ต่างๆ
ส่งเสริมประชาธิปไตย และความร่วมมือกัน
การเรียนควรเป็นกระบวนการต่อเนื่อง
เกี่ยวพันกันตลอดเวลา
กระบวนการบริหาร
(ร่วมมือกัน)
(Participation and Shared Authority)
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
ต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสังคม
ยอดรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม
ปรัชญาสาขาปฏิรูปนิยม
(สร้างค่านิยม และสร้างแบบแผนสังคมใหม่)
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
ต้องช่วยแก้ปัญหา
ของสังคมที่เป็นอยู่
ต้องเป็นไปเพื่อส่งเสริม
พัฒนาสังคมโดยตรง
ต้องมุ่งสร้างระเบียบใหม่
ของสังคมจากพื้นฐานเดิม
ระเบียบใหม่ที่สร้างขึ้น
ต้องอยู่รากฐานของประชาธิปไตย
ต้องให้เด็กเห็นความสำคัญ
ของสังคมควบคู่ไปกับตนเอง
องค์ประกอบของการศึกษา
หลักสูตร
(เน้นสังคม Social-oriented Curriculum)
กลุ่มปฐมนิเทศ
และสร้างแรงจูงใจ
กลุ่มเศรษฐกิจและการเมือง
กลุ่มทางวิทยาศาสตร์
(The Area of Science)
กลุ่มศิลปะ
(The Art Area)
กลุ่มการศึกษา
(The Education Area)
กลุ่มมนุษยสัมพันธ์
(The Area of Human Relations)
กลุ่มเทคนิคและวิธีการต่างๆ
ครู
(นักบุกเบิก นักแก้ปัญหา)
นักเรียน
(เห็นประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับตัวเองน้อยลง
แต่เห็นประโยชน์ของสังคมมากขึ้น)
กระบวนการของการศึกษา
กระบวนการเรียนการสอน
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
(Scientific Method)
วิธีการแบบโครงการ
(Project Method)
วิธีการแก้ปัญหา
(Problem-solving Method)
วิธีการของประวัติศาตร์
(Historical Method)
วิธีการปรัชญา
(Philosophical Method)
กระบวนการบริหาร
(แบบประชาธิปไตย และกระจายอำนาจ)
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
รับรู้ปัญหาของสัมคม
ร่วมแก้ปัญหาของสังคม
ส่งเสริมสนับสนุน