Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวด 7 (ส่วนที่ 3 : วุฒิสภา…
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวด 7
ส่วนที่ 2 : สภาผู้แทนราษฎร
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 350 คน
จำนวนสสต่อจังหวัด
จำนวนราษฏร : สส. = จำนวนราษฎร/350
ราษฏร <= อัตราส่วน >> สส 1 คน
1 คน : 1 เขต
ผู้สมัครต้องมีพรรคการเมืองที่ลงเลือกตั้ง
พรรคการเมืองเสนอชื่อสส.เพื่อเป็นแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีได้โดยมีหนังสือยินยอมให้กับพรรคเดียว
บัญชีรายชื่อพรรคการเมือง 150 คน
จำนวนสส.แบบบัญชีราย ชื่อ: พรรค
จำนวนสส.รวมต่อพรรค = คะแนนรวมทั้งประเทศของทุกพรรค / ( 500 * คะแนนรวมที่แต่ละพรรคได้รับเลือก)
จำนวนสส.รวมต่อพรรค - จำนวนสส.ที่ได้รับเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิ์ลงสมัครเลือกตั้ง
แบบแบ่งเขต
มีชื่อในทะเบียนบ้านและเคยเรียนอยู่ในจังหวัดนั้นไม่ต่ำกว่า 5 ปี
เกิดในจังหวัดนั้น
แบบธรรมดา
เกิดที่ประเทศไทยและอายุ 25 ปี
สังกัดพรรคการเมืองเดียวไ่ต่ำกว่า 90 วัน แต่ถ้ายุบสภาแล้ววันไม่ครบลดเหลือ 30 วัน
ไม่ติดยา ล้มละลาย ถือหุ้นธุรกิจ เคยทุจริต เข้าคุกภายในเวลา10ปีก่อนการเลือกตั้ง
ไม่เป็นข้าราชการ เจ้าหน้าที่รัฐ และตุลาการ
ถ้าเคยเป็นสว. ต้องพ้นสภาพมแล้วไม่ต่ำกว่า 2 ปี
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
มีสัญชาติไทยมาไม่ต่ำกว่า 5 ปี
ไม่เป็นพระ คนบ้า และนักโทษในคดีต่างๆ
อายุมากกว่า 18 ปี
ขอเลือกตั้งนอกเขตได้ แต่ต้องทำตามกฎเกณฑ์ที่ตั้งไว้
มีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งไม่ต่ำกว่า 90 วัน
การพ้นสภาพจากการเป็นสมาชิก
หลังจากหมดวาระ 4 ปี พระมหากษัตริย์จะมีพระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งใหม่ภายใน 45 วัน
หากมีเหตุที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ให้เลือกตั้งภายใน 30 วันหลังเหตุการณ์
มีการยุบสภา ลาออก หรือขาดคุณสมบัติในการเป็นสส.
ลาออกจากพรรคการเมืองเดิม หรือโดนโหวตให้ออกด้วยคะแนนเสียงมากกว่า 3/4 และไม่เข้าพรรคการเมืองใหม่ภายใน 30 วัน
ขาดประชุมมากกว่า 1/4 ของเวลาประชุมโดยไม่ได้รับอนุญาตจากประธานสภา
มีคำพิพากษาให้จำคุก
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในตำแหน่งที่ว่างลง
ตำแหน่งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
จัดการเลือกตั้งใหม่
ตำแหน่งแบบบัญชีรายชื่อ
ให้ประธานสภาฯประกาศรายชื่อลำดับถัดไปขึ้นมาแทน
ฝ่ายค้าน
พ้นสภาพเมื่อขาดคุณสมบัติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
พระมหากษัตริย์แต่งตั้งหัวหน้าพรรคการเมืองที่มีจำนวนสมาชิกในสภามากที่สุดเป็นผู้นำฝ่ายค้าน หากเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก
ส่วนที่ 3 : วุฒิสภา
ข้อต้องห้ามของสมาชิก
เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
เป็นข้าราชการ
เป็นสมาชิกพรรคการเมือง
เป็นนบุพการี คู่สมรส หรือบุตรของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง
เคยดํารงตําแหน่งสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญนี้
เป็นหรือเคยเป็น
รัฐมนตรี
ผู้ดํารงตําแหน่งในพรรคการเมือง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
เว้นแต่ได้พ้นจากตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี
นับถึงวันสมัครรับเลือก
คุณสมบัติของสมาชิก
สัญชาติไทยโดยการเกิด
อายุไม่ต่ํากว่าสี่สิบปีในวันสมัคร
มีความเกี่ยวพันกับพื้นที่ที่สมัครตามหลักเกณฑ์
และเงื่อนไขที่บัญญัติไว
อมีความเกี่ยวพันกับพื้นที่ที่สมัครตามหลักเกณฑ์
และเงื่อนไขทที่กำหนด
ต้องไม่ฝักใฝ่พรรคการเมืองใดๆ
ห้ามดำรงตำแหน่งทางการเมืองหลังสิ้นสุดวาระได้ไม่เกิน 2 ปี
สมาชิกภาพสิ้นสุดลงเมื่อ
ลาออก
หมดวาระ
ตาย
ขาดคุณสมบัติ
ต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก ยกเว้นความผิดฐาน
ความผิดลหุโทษ
หมิ่นประมาท
กระทําโดยประมาท
อายุมีกําหนดคราวละห้าปีนับแต่วันประกาศผลการเลือก
สมาชิกภาพเริ่มตั้งแต่วันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือก
เมื่ออายุสิ้นสุดลง ให้มีการเลือกสมาชิกวุฒิสภาใหม่
มาจากการเลือกกันเอง
กรณีที่มีจํานวนไม่ครบ
ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกเท่าที่มีอยู่
ไม่ถึงกึ่งหนึ่ง ให้ดําเนินการเลือก
ขึ้นแทนภายในหกสิบวัน