Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:checkered_flag:สุขภาพ :checkered_flag: (แนวคิดองค์รวม …
:checkered_flag:สุขภาพ :checkered_flag:
แนวคิดองค์รวม (Holistic) :red_flag:
ความหมาย
ความเป็นจริงหรือความสมบูรณ์ทั้งหมดของสรรพสิ่งมีเอกลักษณ์ และเอกภาพที่มิอาจแบ่งแยกเป็นส่วนย่อยได้
" The whole is more than the sum of its parts. "
ของที่อยู่รวมกันเป็นหนึ่งมีคุณค่ามากกว่าเมื่อแยกกัน
......................................................(Jan Smuts)........
เป็นศาสตร์ที่ใช้ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับมนุษย์
ในสมัยกรีก
ฮิปโปเครติส
ภาวะสมดุลของของเหลว 4 อย่างในร่างกาย คือ เลือด เสมหะ น้ำเหลือง น้ำดี
องค์รวมของบุคคล
มิติร่างกาย
มิติจิต
มิติอารมณ์
มิติสังคม
องค์รวมในด้านสุขภาพ
การแพทย์องค์รวม
การพยาบาลองค์รวม
สุขภาพองค์รวม
การดูแลแบบองค์รวม
สุขภาพ :<3:
ความหมาย
'' สภาวะความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย และจิตใจ รวมถึงความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้ดี ทั้งนี้ไม่ใช่เพียงแต่การปราศจากโรค ''
.................................................(WHO องค๋การอนามัยโรค)...
สุขภาพกาย
เจริญเติบโตสมวัย
ไม่มีโรค
ภูมิคุ้มกันโรค
ร่างกายแข็งแรง
สุขภาพจิต
ปรับตัวเข้ากับทุกสถานการณ์
อารมณ์ดี ไม่เครียด
จัดการกับอารมณ์
สุขภาพทางสังคม
นโยบายสาธารณะดี
สภาพแวดล้อมดี
สังคมช่วยเหลือเกื้อกูล
อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
สุขภาพทางจิตวิญญาณ
จิตใจสะอาด สง่า สงบ
ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง ความตายเป็นของเที่ยง
ปัจจัยที่มีผลต่อสุภาพ
ปัจจัยภายใน
ทางจิต
อัตมโนทัศน์
**การรับรู้
ความเชื่อ
ค่านิยม
ทางพฤติกรรม
พฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคล
พฤติกรรมเสี่ยง
ทางกาย
พันธุกรรม
เชื้อชาติ
เพศ
ปัจจัยภายนอก
ทางสังคม
ระบบสังคม
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (Holistic care) :tada:
แนวคิด
การดูแลเชื่อมมิติความเป็นคนในทุกด้านทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ
ความสมดุล
ความกลมกลืน
ความเป็นหนึ่งเดียวกัน
บุคคลเป็นระบบเปิดและระบบย่อยของระบบอื่น
ปัจจัยที่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลง
เจตคติ
ค่านิยม
การรับรู้
ความเชื่อ
แนวทางการพยาบาลแบบองค์รวม
ดูแลสุขภาพตนเอง
มีส่วนรวมในการแก้ปัญหา
มุ่งให้ช่วยเหลือตนเอง
หลักการ
การสาธารณสุขพื้นฐาน
การสาธารณสุขมูลฐาน
ความเจ็บป่วย (Illness) :warning:
ความผิดปกติทางกาย
ความผิดปกติทางจิต
เบื่ออาหาร
ปวดศรีษะ
เครียด วิตกกังวล
สังคม
ครอบครัว
การยอมรับ การช่วยเหลือ
ระยะของความเจ็บปาวย
ระยะเริ่มต้น
รู้สึกได้ด้วยตนเองหรือคนอื่นบอก
การรับรู้ของแต่ละบุคคล
ระยะยอมรับ
ผู้ป่วยกังวล
ให้กำลังใจ(คนใกล้ชิด)
ระยะแสวงหา
ตามการตัดสินใจของผู้ป่วย
ระยะยอมรับว่าต้องพึ่งพา
เข้าใจความสำคัญของการเจ็บป่วย
ระยะสุดท้าย
หาย
ปรับตัวมาก
ช่วยเหลือตนเอง
ให้กำลังใจ
ตาย
ประเภท
Acute
โรคไสิติ่งอังเสบ
Chronic
เบาหวาน ความดัน