Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลวัตการศึกษาไทย (สมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญระยะแรก (ประเทศไทยเปลี่ยนแปล…
พลวัตการศึกษาไทย
สมัยโบราณ
สมัยสุโขทัย
พระราชวัง
เป็นสถานศึกษาสำหรับ
บุตรหลานของขุนนางในราชสำนัก
พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์
ผู้ชายเรียนวิชาสำหรับการเป็นกษัตริย์
ผู้หญิงเรียนการเรือน เย็บปักถักร้อย
ผู้สอน
พราหมณ์ปุโรหิต
พระภิกษุที่ใกล้ชิดพระราชวงศ์
สำนักราชบัณฑิต
เป็นสถานศึกษาสำหรับ
ลูกหลานขุนนางข้าราชบริพาร
บุคคลที่ได้รับการยกย่องว่ามีความรู้สูง
ลูกหลานเชื้อพระวงศ์
ลูกหลานคหบดี
วิชาที่เรียน
ภาษาไทย ขอม เขมร
ผูสอน
พราหมณ์
นักปราชญ์ราชบัณฑิต
สำนักสงฆ์
ช่วงปลายสุโขทัยได้เปลี่ยนเป็นวัด
ส่วนใหญ่ราษฎรได้รับการศึกษา
เป็นต้นกำเนิดโรงเรียน
ศึกษาคัมภีร์ทางศาสนา
อบรมสั่งสอนจริยธรรม
วิชาที่เรียน
ภาษาไทย ขอม เขมร
บ้าน
ถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพตามบรรพบุรุษ
ผู้เฒ่าผู้แก่เป็นคนสอน
การก่อสร้างบ้านเรือน
การป้องกันตัวของผู้ชาย
การบ้านการเรือน
สมัยกรุงศรีอยุธยา
มีโรงเรียนแห่งแรก
โรงเรียนมิชชันนารี
มิชชานารีชาวต่างชาติเข้ามาเผยแพร่ความรู้
เกิดการเรียนการสอนในศาสตร์สมันใหม่
สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เกิดตำราเรียนเล่มแรก
จินดามณี
สมัยกรุงธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สมัย ร.2
โรงทาน
ร.3 ทรงสั่งให้ตั้งขึ้น
เพื่อทำอาหารคาวหวานเลี้ยงพระภิกษุ
บริจาคสิ่งของให้คนพิการและคนชรา
พระสงฆ์แสดงธรรม
สมัย ร.3
บุรณปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ
ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิต
จารึกวิชาการโดยสลักลงบนแผ่นศิลา
เกิดแบบเรียน
ประถม ก กา
ประถม มาลา
ปี 2379
จัดตั้งโรงพิมพ์หนังสือแห่งแรก
โดยนายแพทย์ ดี บี บรัดเลย์
ผู้สอน
มิชชันนารี
พระภิกษุ
นักปราชญ์ราชบัณฑิต
บิดามารดา
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
สมัยปฏิรูปการศึกษา
รัชกาลที่5
เร่งรัดปฏิรูปประเทศเน้นการศึกษาแห่งชาติ
จัดตั้งโรงเรียนเพื่อสอนคนให้เข้ารับราชการ
เร่งให้ประชาชนมีการศึกษา
ปี 2414
รัชกาลที่5 โปรดเกล้าฯให้ตั้งโรงเรียนครั้งแรกในสยาม
โรงเรียนสกูลหลวง(โรงเรียนหลง)
โรงเรียนหลวงสอนภาษาอังกฤษ
มีมิชชันนารีเป็นครูสอนเป็นส่วนใหญ่
ปี 2453
ร.5 ทรงตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือน
ฝึกคนเข้ารับราชการตามกระทรวง
ร.6 ทรงโปรดเกล้าฯยกฐานะเป็น จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
6 พ.ค. 2430
ร.5 ประกาศตั้ง กรมศึกษาธิการ
ปี 2464
ประกาศพระราชบัญญัติประถมศึกษา
บังคับให้เรียนตั้งแต่อายุ 7ขวบ
อยู่ในโรงเรียนจนถึงอายุ 14ปีบริบูรณ์
ไม่เสียค่าเล่าเรียน
สมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญระยะแรก
ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครอง
โดยคณะราษฎร์
หลัก6ประการเป็นนโยบายบริหารประเทศ
ให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร์
ให้ประชาชนมีความรู้เรื่องประชาธิปไตย
24 มิ.ย. 2475
ปี 2475
รัชกาลที่7โปรดเกล้าฯให้ตั้งสภาการศึกษา
เกิดแผนการศึกษาแห่งชาติขึ้นเป็นครั้งแรก
ปี 2484
กระทรวงธรรมการเปลี่ยนชื่อมาเป็น กระทรวงศึกษาธิการ
ปี 2488
มีกฎหมายควบคุมวิชาชีพครูครั้งแรก
มีสภาในกระทรวงศึกษาธิการเรียกว่า คุรุสภา
ปี 2546
ปรับปรุงคุรุสภาเดิมเป็น สภาครู
บุคคลากรทางการศึกษาเรียกเหมือนเดิมว่า คุรุสภา
สมัยพัฒนาการศึกษา
ตั้งกรมการฝึกหัดครู พ.ศ.2497
ใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
มีการวางแผนแนวทางในการศึกษาให้เข้มแ๘็งขึ้น
สมัยปัจจุบัน
เกิดการขยายตัวทางการศึกษาออกไปสู่ภูมิภาค
เกิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัย
เกิดการตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
เปิดสอนในสาขาวิชาการและวิชาชีพ
โครงสร้างการบริหารการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
สภาการศึกษา
สำนักคณะกรรมการศึกษาขั้นพึ้นฐาน
สำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สำนักคณะกรรมการอาชีวศึกษา