Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหมาย แนวคิด และประเภทของการวิจัยทางนืเทศศาสตร์ (ประเภท…
ความหมาย แนวคิด และประเภทของการวิจัยทางนืเทศศาสตร์
ความหมาย
กระบวนการแสวงหาความรู้ ทำความเข้าใจ หรือหาคำตอบเกี่ยวกับปรากฎการณ์ทางการสื่อสารหรือปรากฎการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร โดยใช้วิธีการที่เป็นระบบระเบียบ ซึ่งเป็นที่ยอมรับทางวิชาการ เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานเชิงประจักษ์หรือเหตุผลที่รับฟังได้ในการยืนยันข้อค้นพบอันจะเป็นประโยชน์ในเชิงวิชาการหรือการประยุกต์ใช้ต่อไป
ความสำคัญ
ความสำคัญทางวิชาการ การวิจัยช่วยสร้างและทดสอบทฤษฎี
มีรากฐานมาจากทฤษฏีหรือสามารถอธิบายเหตุผลของการตั้งสมมุติฐานได้ด้วยทฤษฎีเอง
สามารถพัฒนาข้อค้นพบหรือผลการวิจัยให้เป็นนามธรรมมากขึ้น
ค้นพบในทฤษฎีใหม่ๆได้
ความสำคัญทางวิชาชีพ การวิจัยช่วยในการประเมินการสื่อสาร
ก่อนการผลิดหรือก่อนวางแผน
ลงมือปฎิบัติหรือลงมือวางแผน
เผยแพร่ผลงานหรือการตำเนินการตามแผน
ประเมินผลงานหรือแผน
ประเภท
แบ่งตามเป้าหมายการวิจัย
วิจัยพื้นฐาน
มีเป้าหมายเพื่อให้ได้ความรู้ที่เป็นพื้นฐานทางวิชาการ
(สร้างความรู้)
เชิงประยุกต์
เป้าหมายเพื้อให้ได้ความรู้ในเชิงประยุกต์ สนองต่อความต้องการของนักวิชาชีพในการทำงาน
(ใช้ในการทำงาน)
แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
เชิงพรรณนา
ปรากฎการณ์ที่สนใจคืออะไร
เป็นการพรรณนาความเช้าใจในเรื่องที่สนใจเท่านั้น
เชิงอธิบาย
เป็นภารถามว่า
"ทำไม"
แบ่งตามแนวทางการวิจัย
วิจัยเชิงปริมาณ
สามารถวัดเป็นตัวแลขได้ โดยผ่านการให้นิยามเชิงปฎิบัติ เช่น แบบสอบถาม การเก็บข้อมูล
เชิงคุณภาพ
การตีความและการหาความหมายของปรากฎการณ์นั้นใน
ลักษณะเชิงพรรณนา
วิจัยเชิงผสานวิธี
เป็นการผสมระหว่างการ
วิจัยเชิงปริมาณ+คุณภาพ
แบ่งตามองค์ประกอบของการสื่อสาร
การวิจัยผู้ส่งสาร
เป็นการวิจัยที่เก็บเกี่ยวข้อมูลจากบุคคลเป็นหแหล่งสาร
ประเด็นในการวิจัยผู้ส่งสารได้แก่
1.ทักษะในการสื่อสาร 2. ทัศนคติในการสื่อสาร 3.กลยุทธ์ในการสื่อสาร 4.อุปสรรคในการสื่อสาร
การวิจัยสาร
เป็นการวิจัยเก็บข้อมูลจากสารที่นำเสนอผ่านสื่อต่างๆ
เพื่อวิเคราะห์ปริมาณมากหรือน้อยในประเด็นที่สนใจ หรือวิเคราะห์ความหมายที่ซ่อนอยู่ในเนื้อหา
การวิจัยสื่อ
เป็นการวิจัยเก็บข้อมูลจากบุคคลในฐานะ
ที่เป็นตัวแทนขององค์กรสื่อ
การวิจัยผู้รับสาร
เป็นการเก็บช้อมูลจากบุคคลที่เป็นผู้รับสารในประเด็นทั่วไป
ที่ไม่ใช่ผลกระทบที่ได้รับ
เช่น
ทักษะการสื่อสาร ทัศนคติการสื่อสาร พฤติกรรมการเปิดรับสือ
การวิจัยผลกระทบ
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นผู้รับสาร
ในประเด็นที่เป็นผลกระทบจากการสื่อสาร องค์ประกอบมี 3 ด้านคือ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม
แบ่งตามระดับของการสื่อสาร
การวิจัยสื่อสารภายในบุคคล
ต้องการศึกษาสารภายในบุคคลที่ส่งถึงตัวเอง
การวิจัยการสื่อสารระหว่างบคุคล
ต้องการปฎิสัมพันธ์ระหว่าง 2 คน (face-to-face) เช่น สนทนา สัมภาษณ์ การพูดโน้มน้าวใจ
การวิจัยสื่อสารกลุ่ม
เป็นการศึกษาที่ต้องการมีปฎิสัมพันธ์ตั้งแต่ 3-15 คนขึ้นไป
การวิจัยสื่อสารองค์กร
เป็นการวิจัยที่ต้องการศึกษาการสื่อวารที่เกิดขึ้นภายในองค์กรต่างๆ
การวิจัยสื่อสารสังคม
เป็นการศึกษาเพื่อความพึ่งพาอาศัยกัน แบ่งเป็น 3 ประเภทได้แก่ 1 การวิจัยสื่อสาธารณะ 2.การวิจัยการสื่อสารสังคม 3. การวิจัยสื่อสารมวลชน