Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถาปัตยกรรมของระบบเครือข่าย (การเชื่อมต่อแบบตาข่าย (Mesh Topology) (— ทุกๆ…
สถาปัตยกรรมของระบบเครือข่าย
การเชื่อมต่อแบบตาข่าย (Mesh Topology)
— ทุกๆ node เชื่อมต่อแบบ Point-to-Point กับ node อื่นๆในระบบ
แต่ละลิงค์จะส่งข้อมูลกันระหว่าง node สอง node ที่เชื่อมต่อกัน
เท่านั้น
— ใช้ในการเชื่อมต่อ backbone link
ข้อดี
แต่ละลิงค์ส่งข้อมูลระหว่างโหนดโดยเฉพาะ ความ
น่าเชื่อถือและความปลอดภัยในการส่งข้อมูลสูง
ถ้าโหนดใดเสียหายจะไม่กระทบกับการส่งข้อมูลของ
โหนดอื่นๆ
ข้อเสีย
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
ใช้พื้นที่จ านวนมากในการติดตั้ง
การจัดการและดูแลรักษายุ่งยาก
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (Ring Topology)
• แต่ละโหนดเชื่อมต่อแบบ Point-to-Point กับโหนดที่อยู่ติดกันเพียงสอง
โหนดเท่านั้น สัญญาณจะเดินทางเป็นวงกลมในทิศทางเดียว
ข้อดี
ทุกโหนดสามารถเข้าถึงทรัพยากรได้อย่างเท่าเทียมกัน
ไม่จ าเป็นต้องใช้อุปกรณ์จัดการเครือข่าย
ข้อเสีย
ถ้าโหนดใดโหนดหนึ่งเสียหาย ระบบจะใช้การไม่ได้
ทั้งหมด
การเพิ่มหรือลดอุปกรณ์ จ าเป็นต้องหยุดการท างาน
ของทั้งระบบ
การเชื่อมต่อแบบดาว (Star Topology)
• แต่ละโหนดจะเชื่อมต่อแบบ Point-to-Point กับอุปกรณ์รวมศูนย์ที่เรียกว่า
ฮับ (Hub) โดยข้อมูลจะถูกส่งออกไปที่ฮับซึ่งจะเป็นตัวกระจายข้อมูลไปที่
โหนดทุกตัวที่ต่อกับฮับอีกต่อหนึ่ง
ข้อดี
ติดตั้งและจัดการได้ง่าย
ถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นในเครือข่าย สามารถตรวจสอบและ
จัดการได้ง่าย
ขยายระบบได้ง่าย ไม่กระทบกับอุปกรณ์อื่นในระบบ
ข้อเสีย
ถ้าฮับเสียหาย จะเสียหายทั้งระบบ
หากมีโหนดจ านวนมาก อาจเกิดความล่าช้าในระบบ
สิ้นเปลืองสายสัญญาณจ านวนมาก
การเชื่อมต่อแบบบัส (Bus Topology)
• เป็นการเชื่อมต่อแบบ Multipoint โหนดทุกโหนด ในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า "บัส" (BUS)
• เนื่องจากมีสายสื่อสารเส้นเดียว ก่อนที่โหนดจะส่งข้อมูล จึงต้องตรวจสอบว่าบัสว่างหรือไม่ถ้าไม่ว่างก็ไม่สามารถส่งได้ และในระหว่างส่งข้อมูล โหนดอื่นๆจะทำหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อความที่ส่งเป็นของตนหรือไม่ หากไม่ใช่ก็จะปล่อยให้ข้อมูลวิ่งผ่านไป
ข้อดี
ติดตั้งง่าย ใช้จ านวนสายสัญญาณน้อยกว่าแบบตาข่ายและแบบดาว
ถ้าโหนดใดโหนดหนึ่งเสียหายจะไม่กระทบโหนดอื่นๆ
ข้อเสีย
อาจเกิดการชนกันของข้อมูล
ไม่เหมาะกับเครือข่ายขนาดใหญ่ มีการส่งข้อมูลจ านวนมาก
หากสายสื่อสารบัสเสียหาย ระบบจะใช้การไม่ได้ทั้งหมด
การเชื่อมต่อแบบไฮบริด (Hybrid Topology)
• เป็นการผสานการเชื่อมต่อโทโพโลยีมากกว่าหนึ่งแบบเข้าด้วยกัน เพื่อ
ตอบสนองการเชื่อมต่อที่มีความซับซ้อนมากขึ้น หรือขนาดเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้น
ซึ่งราคาในการติดตั้งจะสูงกว่าแบบอื่นๆ