Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star: ระบบการจัดการความรู้ :star: (บทที่ 1 ความรู้ (ASHEN Model ( S…
:star:
ระบบการจัดการความรู้
:star:
บทที่ 1 ความรู้
ประเภทความรู้
ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge)
ความรู้เด่นชัด(Explicit Knowledge)
ASHEN Model
S = Skills เป็นทักษะ หรือสิ่งจำเป็นที่ต้องมี เพื่อให้สามารถทำงานประสบความสำเร็จ
H = Heuristics เป็นความรู้ที่เกิดจากการเรียนรู้ ทดลองปฏิบัติ
A = Artifacts เป็นความรู้ที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น เอกสาร หนังสือ ถือเป็นความรู้ที่เป็นรูปธรรมมากที่สุด
E = Experience เป็นความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้มามากพอ จนมีความเชี่ยวชาญสูง เริ่มมีความยากต่อการถ่ายทอดหรือแลกเปลี่ยน เนื่องจากเป็นเรื่องของเฉพาะตัวบุคคล
N = Natural Talent เป็นพรสวรรค์ หรือสิ่งที่ธรรมชาติให้มา ยากที่จะบริหารจัดการได้ เป็นความรู้ที่ฝังลึกและยากในการถ่ายทอดมากที่สุด มีความเป็นนามธรรมสูง
รูปแบบความรู้
ความรู้เด่นชัด(Explicit Knowledge)
เอกสาร (Document)
กฎ ระเบียบ (Rule)
วิธีปฏิบัติงาน (Practice)
ระบบ (System)
ความรู้ซ่อนเร้น
(Tacit Knowledge)
ทักษะ (Skill )
ประสบการณ์ (Experience)
ความคิด (Mind of individual )
พรสวรรค์ (Talent )
แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร(คลังความรู้)
การจัดการความรู้มีอยู่ 3 ประเภท
1.Narrative Management เป็นการจัดการความรู้โดยใช้เทคนิคการเล่าเรื่องที่รู้มา
2.Context Management เป็นการจัดการความรู้โดยใช้กิจกรรมที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้โดยเครือข่ายทางสังคม
3.Content Management คือการจัดการความรู้ประเภท explicit(ชัดแจ้ง)
การจัดการความรู้
ทำเพื่อพัฒนาตนเอง
ทำเพื่อพัฒนาองค์กร
ทำเพื่อพัฒนาฐานความรู้
ทำเพื่อพัฒนาส่วนรวม
ทำเพื่อให้สามารถปฏิบัติได้
วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้
เพื่อปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานทางธุรกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ
เพื่อปรับปรุงเทคนิค กระบวนการ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาองค์
คุณสมบัติของความรู้
มีความพิเศษและมีผลตอบแทนที่เพิ่มพูน
แบ่งออกเป็นส่วนได้ รั่วไหลได้ และต้องปรับให้ทันยุคสมัย
ยากต่อการประเมินและตีราคาเป็นมูลค่า
มีมูลค่าไม่แน่นอนในเรื่องของการแบ่งปัน
เกี่ยวพันกับเวลา
เกลียวความรู้ SECI Model
รวมความรู้ : Combination
สังคม : Socialization
ฝังความรู้ : Internalization
สกัดความรู้ : Externalization
รูปแบบการทำงานใหม่
งานไร้ทักษะ
งานที่ต้องใช้ความรู้
บทที่2 จัดการความรู้
ขบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) :
ค้นหา
สร้าง
รวบรวม
จัดเก็บ
เผยแพร่
ถ่ายทอด
แบ่งปันและใช้ความรู้
สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร
เปลี่ยนแปลงเร็ว / คาดการณ์ยาก / แข่งขันสูง
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี / โลกไร้พรมแดน
มีความรู้ใหม่ๆ เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าในทุก 2 – 3 ปี
เน้นบริการที่ลูกค้าพึงพอใจเป็นสิ่งสำคัญ
สภาพแวดล้อมภายในองค์กร
ความรู้ที่ผู้เชี่ยวชาญ เมื่อเกษียณ / ลาออก ความรู้นั้นหายไปด้วย
บางครั้งก็ไม่รู้ว่า องค์กรเรามีความเชี่ยวชาญที่เป็นเลิศด้านไหน
บุคลากรมีความคิดริเริ่มซ้ำซ้อนในเรื่องเดียวกันบ่อยๆ
เป็นยุคที่ต้องการผลงานชัดเจน มีประสิทธิภาพ ตอบสนองต่อ
ความผิดพลาดซ้ำๆ ของผู้ปฏิบัติงาน งานขาดประสิทธิภาพ
ผลที่ได้การจัดการความรู้
พัฒนาคน / พัฒนางาน / สร้างความรู้ใหม่ / องค์กรบรรลุเป้าหมาย
ประโยชน์ของการจัดการความรู้
ความแตกต่างจากคู่แข่ง
การแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
เพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจในการวางแผน
สามารถนำสินทรัพย์ความรู้ที่มีอยู่ทั้งในองค์กรและนอกองค์กรมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทที่ 3 วงจรการจัดการความรู้
• การสร้างองค์ความรู้ (Create Knowledge)
• การจับใจความสำคัญขององค์ความรู้ (Capture Knowledge)
• การปรับปรุงองค์ความรู้ (Refine Knowledge)
• การจัดเก็บองค์ความรู้ (Store Knowledge)
• การจัดการองค์ความรู้ (Manage Knowledge)
กระบวนการความรู้ (Knowledge Process)
การกำหนดสิ่งที่ต้องเรียนรู้ / การบ่งชี้ความรู้
ประเด็นประกอบการพิจารณา
เป็นความรู้ที่สำคัญและจำเป็นต่อกระบวนการทำงานขององค์กร
เป็นความรู้ที่สามารถนำมาใช้เพื่อการแก้ปัญหาการดำเนินงานขององค์กร
สอดคล้องกับประเด็นวิสัยทัศน์ / พันธกิจ และยุทธศาสตร์
การแสวงหาความรู้
การจัดหา (Acquisition)
การเช่า (Rental) หรือการเช่าความรู้
การพัฒนา (Development)
การหลอมรวมกัน (Fusion)
การจัดเก็บและค้นคืนความรู้
ข้อคำนึงในการจัดเก็บ
โครงสร้างและการจัดเก็บความรู้ ควรเป็นระบบที่สามารถค้นหาและส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
จัดให้มีการจำแนกรายการต่าง ๆ เช่น ข้อเท็จจริง นโยบาย หรือขั้นตอนการปฏิบัติงานที่อยู่บนพื้นฐานความจำเป็นในการเรียนรู้
การจัดการที่สามารถส่งมอบให้กับผู้ใช้ได้อย่างชัดเจน กระชับ ถูกต้อง ทันเวลา และเหมาะสมตามที่ต้องการ
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การเข้าถึงความรู้
การแบ่งปันความรู้
การเรียนรู้
กิจกรรมการจัดการความรู้
เป้าหมายการจัดการความรู้
พัฒนางาน
พัฒนาคน
พัฒนาฐานความรู้
กิจกรรมการจัดการความรู้
จัดทำคู่มือการทำงาน
จัดทำ Best Practices
สร้างเวทีการแลกเปลี่ยนความรู้
การเรียนรู้และฝึกอบรม
คลังความรู้ (Knowledge Asset)
กรณีศึกษา (Case-based)
การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
บทเรียนการเรียนรู้ (Lesson learned)
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ (Expert)
เครื่องมือทางการจัดการความรู้
Codification (Explicit)
การจัดเก็บความรู้และ Best Practices ไว้ในรูปของเอกสาร
สมุดหน้าเหลือง
ฐานความรู้
Personalization (Tacit)
การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน
ชุมชนการปฏิบัติ (CoP)
ระบบพี่เลี้ยง
การสับเปลี่ยนงาน
เวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนความรู้