Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ม.4/1 เลขที่ 28 ศุภนิดา ศูนย์ตรง บทที่ 2 การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหม…
ม.4/1 เลขที่ 28 ศุภนิดา ศูนย์ตรง บทที่ 2 การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
ลักษณะการใช้งานคอมพิวเตอร์
ลักษณะการใช้งานคอมพิวเตอร์จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับระดับผู้ใช้งานและลักษณะของงาน ดังนั้นผู้ใช้ควรคำนึงถึงและทำความเข้าใจก่อนจะเลือกซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้งาน เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพ
ระดับผู้ใช้งาน แบ่งได้ 4 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มผู้ใช้งานตามบ้าน (Home User) หมายถึง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามบ้าน ห้องพัก คอนโดมิเนียม หรือที่พักใดๆ
กลุ่มผู้ใช้ในธุรกิจองค์กรขนาดเล็ก (LAN) ส่วนใหญ่จะใช้ทำงานด้านเอกสาร คำนวณ ฐานข้อมูลติดต่อสื่อสาร
กลุ่มผู้ใช้ในธุรกิจองค์กรขนาดใหญ่ (Large Business User) กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ใช้ในองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่
กลุ่มผู้ใช้นอกสถานที่ (Mobile User) กลุ่มนี้เป็นผู้ใช้งานที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่ต่างๆ หรือต้องเดินทางบ่อยๆ
ลักษณะของการใช้งาน
งานทางด้านเอกสาร รายงาน หรืองานสำนักงานต่างๆ สำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานด้านนี้ไม่จำเป็นต้องเน้นคุณลักษณะของเครื่องที่สูงมากนัก
งานทางด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อโฆษณาต่างๆ งานทางด้านนี้จะต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่มีคุณลักษณะที่มีประสิทธิภาพสูงพอสมควร
เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก สำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานด้านนี้ต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่มีคุณภาพ ความเร็ว ความจุ
คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์
1.2. หน่วยความจำหลัก (RAM) สิ่งที่ควรพิจารณาในการเลือกซื้อก็คือ ขนาดและชนิด ยิ่งหน่วยความจำหลักมีขนาดมากเท่าไรก็จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้รวดเร็วขึ้น
1.3. ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) คอมพิวเตอร์ที่ใช้ควรมีพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูลอย่างน้อย 5 GB ขึ้นไป
1.1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ส่วนนี้เป็นตัวกำหนดความเร็วในการประมวลผล ดังนั้นในการเลือกซื้อซีพียูต้องคำนึงถึงความเร็วของซีพียู
1.4. การ์ดแสดงผล (Display Card) หรือ การ์ดจอ (VGA Card) ควรเลือกให้เหมาะสมกับงานที่นำไปใช้ ซึ่งมี 2 รูปแบบที่ติดมาพร้อมกับเมนบอร์ด และแบบอุปกรณ์แยกต่างหาก
1.5. การ์ดเสียง (Sound Card) ควรเลือกแบบ PCI
1.6. จอภาพ (Monitor) ควรเลือกขนาด 15-17 นิ้วเป็นอย่างน้อย
1.7. อุปกรณ์สำหรับอ่านเขียนซีดี/ดีวีดี (Optical Drive) ควรเลือกซื้อให้เหมาะสมกับการใช้งานว่าใช้เพียงแค่อ่านแผ่น หรือจะใช้แบบบันทึกข้อมูลได้ด้วย
1.8. ระบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Connection) มีให้เลือกใช้ทั้งแบบโมเด็มแบบภายนอก
1.9. พอร์ต I/O เป็นช่องสำหรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกอื่นๆ
1.10. เครื่องพิมพ์ ควรเลือกให้เหมาะกับงานที่ต้องการพิมพ์
คุณลักษณะของซอฟต์แวร์
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
2) ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
ซอฟต์แวร์ทางด้านมัลติมีเดีย เป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นความบันเทิงทุกรูปแบบ
ซอฟต์แวร์อเนกประสงค์ (Utilities Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยจัดการคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์เพื่องานออกแบบ (Computer-Aided Design : CAD) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆ
ซอฟต์แวร์ทางด้านธุรกิจ (Business Management Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการทำงานทางด้านธุรกิจเฉพาะงานใดงานหนึ่ง
2.3 การเลือกใช้ปรเภทซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน
2) แบบทดลองใช้ (Shareware)
เป็นโปรแกรมที่แจกให้ทดลองใช้งานก่อน โดยจะจำกัดความสามารถการใช้งานบางส่วนไว้ และจำกัดในเรื่องของระยะเวลาในการทดลองใช้
การกำหนดคุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
3.2 สำหรับงานด้านกราฟิก
3.3 สำหรับเล่นเกมคอมพิวเตอร์
3.1 สำหรับงานพื้นฐานทั่วไป
1) แบบใช้งานฟรี (Freeware)
เป็นโปรแกรมที่สามารถใช้งานได้ฟรีโดยไม่จำกัดระยะเวลาและไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ
1) ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไปหรือซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
ซอฟต์แวร์ทางด้านสำนักงาน เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการงานด้านสำนักงาน
ซอฟต์แวร์ทางด้านติดต่อสื่อสาร เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบ
2.1 ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
2) วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์คลิก
3) ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก ทำให้สามารถใช้งานร่วมกันได้หลายคน โดยผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีชื่อและรหัสผ่าน
1) ดอส (DOS) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามานานแล้วการใช้งานจะใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร
4) ลีนุกซ์ (Linux) เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Freeware) คือไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อโปรแกรม
การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เลือกซื้อแบบสั่งประกอบ
เลือกซื้อแบบประกอบเอง
เลือกซื้อคอมพิวเตอร์ที่ขายเป็นชุด
ตรวจสอบลักษณะของคอมพิวเตอร์
การตรวจสอบความเร็วซีพียู หน่วยความจำ และระบบปฏิบัติการ
4) ในส่วน System จะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
5) ในส่วน Computer จะแสดงซีพียูที่ใช้งาน
3) คลิกที่แท็บ General ในไดอะล็อกบ็อกซ์ System Properties
6) ความเร็วซีพียูที่ใช้งาน
2) เลือกรายการ Properties
7) ขนาดหน่วยตวามจำของเครื่องคอมพิวเตอร์
1) คลิกเมาส์ขวาที่ไอคอน My Computer
ตรวจสอบขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์
หากต้องการทราบว่าฮาร์ดิสก์มีขนาดเท่าใด และยังมีพื้นที่เหลืออยู่เท่าใดก็สามารถทำได้โดยดับเบิลคลิกไอคอน My Computer จากนั้นหน้าต่าง My Computer จะแสดงข้อมูลเกี่ยวกับไดรฟ์ทั้งหมด ถ้าต้องการทราบขนาดพื้นที่ทั้งหมดของไดรฟ์นั้นให้ดูค่าที่คอลัมน์ Total Size และถ้าต้องการทราบขนาดพื้นที่ที่ยังว่างของไดรฟ์ที่เลือกให้ดูค่าที่คอลัมน์ Free Space