Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของระบบกฎหมายไทย (ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า…
วิวัฒนาการของระบบกฎหมายไทย
ก่อนกรุงรัตนโกสินทร์
สมัยกรุงสุโขทัย
ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง ถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย
กฎหมายสี่บท
กฎหมายมรดก
กฎหมายที่ดิน
กฎหมายวิธีพิจารณา
กฎหมายร้องทุกข์
ใช้พระธรรมศาสตร์ (คัมภีร์สืบทอดมาจากฮินดู,อินเดียโบราณ)
ศิลาจารึกพ่อขุนรามเทียบได้กับ มหากฎบัตร ของอังกฤษ
สมัยกรุงศรีอยุธยา
ใช่ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษรอย่างสมบูรณ์
ตรากฎหมายเพื่อใช้บังคับแก่ราษฎร เรียกว่า พระราชศาสตร์ เพื่อ ขยายความพระธรรมศาสตร์
กฎหมายว่าด้วยกฎมนเฑียรบาล
ต้นกรุงรัตนโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ร.1
ชำระกฎหมายขึ้นใหม่ = กฎหมายตราสามดวง
ตราราชสีห์ = สมุหนายก
ตราคชสีห์ = สมุหนากลาโหม
ตราบัวแก้ว = โกษาธิบดี/เจ้าพระยาพระคลัง
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.5
ร่างประมวล กม อาญา ประกาศใช้เป็นฉบับแรก เมื่อ 15 เม.ย.2451 เรียก กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.6
ร่างกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ทยอยประกาศใช้จนในสมัย ร.7
ระบบประมวลกฎหมายในประเทศไทย
ปัจจุบันไทยใช้ กม ในรูปแบบประมวลกฎหมาย/กม ลายลักษณ์อักษร
รัฐธรรมนูญ
พ.ร.บ.
พ.ร.ก
พ.ร.ฎ.
กฎกระทรวง
เทศบัญญัติ,ข้อบัญญัติจังหวัด
เมื่อไม่มีกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได้
จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น
เทียบกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง
วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป