Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิชานวัตกรรม (บทที่7 แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา…
วิชานวัตกรรม
บทที่7 แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา
ความหมาย
“แหล่งเรียนรู้” หมายถึง “แหล่ง” หรือ “ที่รวม” ซึ่งอาจเป็นสภาพ สถานที่ หรือศูนย์รวมที่ประกอบด้วย ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และกิจกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้ หรือกระบวนการเรียนการสอน
เครือข่าย (Network) เป็นแนวคิดและกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร ตลอดจนชุมชนให้เกื้อกูลเชื่อมโยงกันโดยที่แต่ละฝ่ายต้องมีความเท่าเทียมกัน มีอิสระต่อกันสามารถยืนหยัดอยู่ได้ด้วยตนเอง และพร้อมที่จะปฏิบัติงานร่วมกันของสมาชิกเครือข่ายบนพื้นฐานของความเท่าเทียมกัน
เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง การเรียนรู้ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมทางการศึกษาของมนุษย์ ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา และการศึกษาผู้ใหญ่ โดยมีองค์ประกอบสำคัญคือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่ใช้ควบคุมระบบ การทำงาน และเครือข่ายการสื่อสาร
แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข่าวสารข้อมูล สารสนเทศ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง
การก่อเกิดของเครือข่าย
เครือข่ายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
เครือข่ายโดยการจัดตั้งขึ้น
ความสำคัญของเครือข่ายการเรียนรู้
เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดระบบการเรียน การสอน รูปแบบใหม่ในสถาบันการศึกษา
ก่อให้เกิดการติดต่อสื่อสารระหว่างครูกับนักเรียน เพื่อร่วมมือกันทำงานได้มากขึ้น เป็นสื่อกลาง
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารได้ทั่วโลก
รวมทั้งสามารถใช้ประโยชน์จากระบบ อินทราเน็ตในการส่งข่าวสารได้
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก นักเรียนสามารถเรียกข้อมูลมาใช้ได้ง่าย
เป็นการเรียนแบบร่วมกันและทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทำมากกว่าเป็นผู้ถูกกระทำ
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน และเน้นบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไป
จัดให้เครือข่ายการเรียนรู้เป็นเสมือนชุมชนของการเรียนรู้แบบออนไลน์
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการธำรงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้
กระบวนการและวิธีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
การตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่าย
การติดต่อกับองค์กรที่จะร่วมเป็นเครือข่าย
การสร้างพันธกรณีร่วมกัน
การพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกัน
การทำกิจกรรมร่วมกัน
การรวมตัวกันจัดตั้งองค์กรใหม่ร่วมกัน
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
รูปแบบการเรียนการสอน
บทบาทของผู้สอน
บทบาทของผู้เรียน
บทบาทของการเรียนการสอน
ห้องเรียน
ศูนย์เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน
ฐานบริการข้อมูลการเรียน
ฐานบริการเว็บ
ฐานบริการ Real Audio
ฐานบริการ Real Video
ฐานบริการกระดานข่าว
Virtual library และ Digital library
Student Homepage
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้
เครือข่ายไทยสาร
เครือข่ายยูนิเน็ต
สคูลเน็ต
เครือข่ายนนทรี
เครือข่ายกระจายเสียงวิทยุ อสมท.
ThaiSafeNet.Org
ประเภทของแหล่งการเรียนรู้
จัดตามลักษณะของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
บุคคล
แหล่งการเรียนรู้ตามธรรมชาติ
จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
บทที่5 การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินโดยผู้สอน
การประเมินโดยผู้ชำนาญ
การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ
การประเมินผลโดยผู้เรียน
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ
การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
ความสำคัญของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้
เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินผลสื่อการเรียนรู้ หมายถึง การนำเอาผลการวัดและประเมินสื่อการเรียนการสอนมาตีความหมาย และ ตัดสินคุณค่า เพื่อที่จะรู้ว่าสื่อนั้นทำหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรียน
แบบสอบถาม
การสังเกตเป็นการเฝ้าดูผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อการสอน
การสัมภาษณ์เป็นการซักถามและพูดคุยกับทั้งผู้ผลิต ผู้ใช้และผู้เรียน
บทที่6 รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
“นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย
การศึกษายุค 4.0
Education 1.0
Education 2.0
Education 3.0
Education 4.0
กระบวนทัศน์การจัดการศึกษาศตววรรษที่ ๒๑
เน้นที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าความรู้
ครูไม่ใช่ผู้ที่มอบความรู้เพียงอย่างเดียว
ครูเป็นผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้พร้อมกับผู้เรียน
เป้าหมายของการเรียนรู้ไม่ใช่ที่ตัวความรู้
แหล่งเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ สามารถเปิดกว้างได้อย่างไร้ขีดจำกัด
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ