Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิชานวัตกรรม (บทที่ 5 การประเมินและ การปรับปรุงนวัตกรรม …
วิชานวัตกรรม
บทที่ 5
การประเมินและ
การปรับปรุงนวัตกรรม
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินผลสื่อการเรียนรู้ หมายถึง การนำเอาผลการวัดและประเมินสื่อ
การเรียนการสอนมาตีความหมาย ( Interpretation ) และ ตัดสินคุณค่า (
Value Judgment ) เพื่อที่จะรู้ว่าสื่อนั้นทำหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้
แค่ไหน มีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใด มีลักษณะถูกต้องตามที่ต้องการหรือไม่
ประการใด จะเห็นได้ว่าการประเมินผลสื่อการเรียนรู้กระทำได้โดยการพิจารณา
จากข้อมูลที่ได้จากการวัดผลสื่อการเรียนรู้นั้นเทียบกับวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
ข้อมูลที่ได้จากการวัดผลซึ่งมีความสำคัญ
ความสำคัญของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน
เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่ง
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้
สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ
การประเมินผลโดยผู้เรียน
การประเมินโดยผู้ชำนาญ
. การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ
การประเมินโดยผู้สอน
การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
บทที่ 7
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ทางการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ทางการศึกษา
เครือข่ายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ซึ่งดูได้จากความเป็นเครือญาติกัน
การมีภูมิลำเนาถิ่นกำเนิดเดียวกัน การมีความเชื่อถือศรัทธาเหมือนกัน
การมีปัญหาร่วมกัน และการมีความสนใจร่วมกันในงานหรือกิจกรรม
เป็นต้น
เครือข่ายโดยการจัดตั้งขึ้น จะต้องมีผู้คอยกระตุ้นปลุกจิตสำนึกให้เกิด
ความคิดตระหนักถึงปัญหาของชุมชนร่วมกันและก่อให้เกิดการจัดตั้ง
กลุ่มองค์กรขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งมักจะเป็น
เครือข่ายในระบบราชการ
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทำมากกว่า
เป็นผู้ถูกกระทำ
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน และเน้นบทบาทที่
เปลี่ยนแปลงไป
เป็นการเรียนแบบร่วมกันและทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม คุณลักษณะ
พื้นฐานของเครือข่ายการเรียนรู้ คือการเรียนแบบ ร่วมมือกัน
ดังนั้นระบบเครือข่ายจึงควรเป็นกลุ่มของการเรียนรู้โดยผ่าน
ระบบการสื่อสารที่สังคมยอมรับ เครือข่ายการเรียนรู้จึงมี รูปแบบ
ของการร่วมกันบนพื้นฐานของการแบ่งปันความน่าสนใจ ของ
ข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน
จัดให้เครือข่ายการเรียนรู้เป็นเสมือนชุมชนของการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์
สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก นักเรียนสามารถเรียก
ข้อมูลมาใช้ได้ง่าย และเชื่อมโยงเข้าหานักเรียนคนอื่น ได้ง่าย
รวดเร็ว และสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ที่มีเครือ
ข่าย
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือ
ข่ายการเรียนรู้
ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network
organizing)
การจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้ที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ มี
องค์ประกอบสำคัญที่ควรพิจารณา 5 ประการ คือ การจัดผังกลุ่ม
เครือข่าย การจัดบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในเครือข่าย การจัด
ระบบการติดต่อสื่อสาร การจัดระบบการเรียนรู้ร่วมกัน และการจัด
ระบบสารสนเทศ ดังนั้นถ้าสามารถจัดระบบบริหารเครือข่ายได้
ครบถ้วนดังกล่าว ผลที่ตามมาก็จะเป็นไปอย่างราบรื่น
ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้(learning network utilizing )
การใช้ประโยชน์จากเครือข่ายการเรียนรู้จากการดำเนินงานด้าน
ต่างๆ ที่สำคัญ 5 ประการ ได้แก่ การใช้เครือข่ายเพื่อให้เป็นเวที
กลางประสานงานร่วมกันระหว่างสมาชิกภายในและภายนอกเครือ
ข่าย การใช้เครือข่ายเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนสารสนเทศและความรู้
ของสมาชิกเครือข่าย และผู้สนใจการใช้เครือข่ายเพื่อให้เป็นเวที
แลกเปลี่ยนระดมทรัพยากรร่วมกันของสมาชิกเครือข่าย
ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network
forming)
เป็นการก่อตัวขึ้นโดยมีแนวทางสำคัญที่ควรดำเนินการ 4
ประการ ได้แก่ การสร้างความตระหนักในปัญหาและการสร้างสำนึก
ในการรวมตัว การสร้างจุดรวมของผลประโยชน์ในเครือข่ายการ
แสวงหาแกนนำที่ดีของเครือข่าย และการสร้างแนวร่วมของสมาชิก
เครือข่าย ถ้าเครือข่ายแห่งใดปฏิบัติได้ตามแนวทางดังกล่าวก็เชื่อได้
ว่าจะสามารถก่อตั้งเครือข่ายในชุมชนได้อย่างแน่นอน
ขั้นการธำรงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network
maintaining) การธำรงรักษาเครือข่ายเพื่อให้ดำเนินการไปสู่ความ
สำเร็จนั้น มีแนวทางปฏิบัติ 6 ประการดังนี้ การจัดดำเนินการ
กิจกรรมต่างๆ ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง การรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
ระหว่างสมาชิกเครือข่าย การกำหนดกลไกและการสร้างระบบแรง
จูงใจให้แก่สมาชิกของเครือข่าย การให้ความช่วยเหลือและช่วย
แก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง
บทที่ 6
รูปแบบและกลยุทธ์
การพัฒนานวัตกรรมทางการ
ศึกษา
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
“นวัตกรรมการศึกษา (Educational
Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะ
ช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอน
มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถ
เกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผล
สูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียน
ด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัด
เวลาในการเรียนได้อีกด้วย
กระบวนทัศน์การจัดการศึกษาศตว
วรรษที่ ๒๑
ครูไม่ใช่ผู้ที่มอบความรู้เพียงอย่างเดียว
ครูเป็นผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้พร้อมกับผู้เรียน
เน้นที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าความรู้
เป้าหมายของการเรียนรู้ไม่ใช่ที่ตัวความรู้
แหล่งเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ สามารถเปิดกว้างได้อย่างไร้ขีดจำกัด