Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะผู้นำทางการศึกษา และการเรียนรู้ และการเป็นผู้นำทางวิชาการ…
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
และการเรียนรู้ และการเป็นผู้นำทางวิชาการ
ความสำคัญของงานวิชาการและภาวะผู้นำทางวิชาการ
งานวิชาการเป็นหัวใจ
ของงานบริหารสถานศึกษา และงานบริหารการศึกษา โดยมีจุดมุ่งหมายคือ จัดการศึกษาให้มีคุณภาพ สร้างและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณสมบัติตามที่ชุมมชน และสังคมต้องการ
คุณลักษณะและพฤติกรรมของผู้นำทางวิชาการ
มีแนวคิดกว้างไกลในเรื่องของการศึกษา
มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของการศึกษา
มีพลังที่พร้อมจะทำงานวิชาการ ควบคู่ไปกับงานด้านอื่นๆ
กล้าเสี่ยง และมีแนวคิดใหม่ๆ
มีมนุษยสัมพันธ์
มีความตั้งใจแน่วแน่ในการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน
การพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร
ให้ความสำคัญต่อการวางแผน จัดทำ และพัฒนาหลักสูตร
ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนแบบ Learning by doing
ส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ควบคู่ไปกับการพัฒนาความรู้ทางวิชาการ
ฝึกฝนและพัฒนาครู ให้จัดทำแผนการสอนตรงกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และประเมินผลอย่างเป็นระบบ
พัฒนาตนนนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และประพฤตตนเป็นแบบอย่างในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เน้นการเป็น Learning Facilitator ของครู บุคลากร และผู้เรียน
ผู้บริหารสร้างสัมพันธภาพกับทุกภาคส่วน ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
บทบาท หน้าที่ และพฤติกรรมที่คาดหวังของผู้บริหารในฐานะผู้นำทางวิชาการ
บทบาทในการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน
ขั้นตอนที่ 1 ควบคุมคุณภาพ
ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบคุณภาพ
ขัั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณภาพ
บทบาทในการส่งเสริมวิชาการ
เป็นผู้นำและส่งเสริมในการทำวิจัยในชั้นเรียน (CAR)
เป็นผู้นำนิเทศการสอน
กำกับดูแล ให้คำแนะนำ และส่งเสริมครู
ให้คำชี้แนะและช่วยเหลือครูด้านปัญหาส่วนตัว
สร้างขวัญและกำลังใจแก่ครู
ประเมินผลการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
บทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน และการจัดการเรียนรู้
ยึดหลักการจัดการเรียนการสอนตามแนวหลักสูตร
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง
จะต้องจัดครูเข้าสอน จัดหาสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก
กระตุ้น และส่งเสริมให้ครูจัดทำ และใช้แผนการสอน
กำกับ และติดตามการจัดการเรียนการสอนของครู
ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น
บทบาทในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตร
ขั้นตอนที่ 1 วางแผน และจัดทำ หรือยกร่างหลักสูตร
ขั้นที่ 2 ใช้หลักสูตร และแก้ไขปัญหาที่เกิดจากหลักสูตร
ขั้นที่ 3 นิเทศติดตามผล และการประเมินผลหลักสูตร
บทบาทในการวัดและประเมินผล
ศึกษาและทำความเข้าใจหลักการวัด และประเมินผล
จัดให้มีการวัดผลและประเมินผลการเรียน
วางแผนกำหนดระยะเวลาสำหรับการวัดและประเมิน ตามหลักสูตร
จัดเครื่องมือวัดผลที่มีคุณภาพ
จัดคณะครู ทำหน้าที่รับผิดชอบงานวัดและประเมินผลของโรงเรียน
จัดให้มีคระกรรมการวัดผลของโรงเรียน
ติดตามละตรวจสอบผลอย่างสม่ำเสมอ
จัดทำรายงานผลการประเมินเพื่อแสดงความก้าวหน้าของนักเรียน และนำข้อมูลไปใช้ในการพัฒนาต่อไป