Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รัฐประศาสนศาสตร์ (public administration) (ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐป…
รัฐประศาสนศาสตร์ (public administration)
ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์
สถานภาพ
Science&Art
science เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริง/ความจริง(fact)
art เกี่ยวข้องกับค่านิยมเชิงปทัสถาน(normative value)
Applies social science
ทฤษฎีสังคมศาสตร์ หลายกลุ่มวิชานำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
ขอบข่ายการศึกษา
public
Interest
ผลประโยชน์สาธารณะ
Organization
องค์การสาธารณะ
Goods
สินค้าสาธารณะ
Management
การจัดการสาธารณะ
Sector
บริหาร
ตุลาการ
นิติบัญญัติ
Nicholas Henry จัดหมวดหมู่ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปพาราไดม์
locus
focus
จุดกำเนิด
ระบบอุปถัมภ์(Spoils System)
ความหมาย
ทางกฎหมาย
กฎหมายปกครองที่ดำเนินการโดยรัฐให้ประชาชนปฏิบัติ
ทางการบริหารจัดการ
มีความล่าช้าและยึดถือความเป็นทางการ
การใช้ทรัพยากรเพื่อการบรรลุเป้าหมาย
ทางรัฐศาสตร์/การเมือง
การให้บริการสาธารณะแก่ประชาชน
สิ่งที่ไม่สามารถทำคนเดียวได้
ทางการประกอบอาชีพ
การชิงดีชิงเด่นในเรื่องของลายลักษณ์อักษร
ข้าราชการ เจ้าพนักงานของรัฐ
คุณลักษณะ
ความแตกกับการบริหารจัดการของภาครัฐและเอกชน
พัฒนาการของการศึกษา
ยุคสมัย-พาราไดม์-แนวทางการศึกษา
ทฤษฎีท้าทาย(1950-1960)
Modern public Administration(1960-1970)
ทฤษฎีดั้งเดิม(1887-1950)
Contemporary Public Administration
ระบบราชการ(Bureaucracy)
ระบบการทำงานระบบหนึ่งที่มีลักษณะการจัดองค์การแบบราชการ
ประภทของระบบราชการ
แบบผู้อารักขา
แบบชั้นวรรณะ
แบบอุปถัมภ์
แบบคุณธรรม
การจัดการองค์แบบราชการ
Ideal Type of bureaucracy (Max Weber)
ฺBureaucracy เป็นลักษณะการบริหารงานที่อำนาจสัมพันธ์ระหว่างผู้นำและผู้ตามมีลักษณะอยู่บนรากฐานของกฎหมาย
แนวความคิดที่มองระบบราชการในแง่ลบ
Robert Merton "การเบี่ยงเบนเป้าหมาย"
Robert Michels "กฎเหล็กคณาธิปไตย"
Michel Crozier "วัฏจักรของความชั่วร้ายของกฎระเบียบ"
องค์การสาธารณะของไทย
หน่วยงานราชการ
รัฐวิสาหกิจ
เป็นหน่วยงานด้านการให้บริการสาธารณะทางพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม
รัฐยังจำเป็นต้องควบคุมและดำเนินการแต่เพียงผู้เดียว
การแปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย เป็นการเปลี่ยนสภาพความเป็นเจ้า(ownership)ของจากรัฐไปเป็นเอกชน
องค์การมหาชน
ไม่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหากำไร
เป็นหน่วยงานด้านการให้บริการสาธารณะทางสังคมและวัฒนธรรม
หน่วยงานของรัฐรูปรูปแบบใหม่
ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคดั้งเดิม
ทฤษฎีระบบราชการ (Max Weber)
โฟกัสที่กฏเกณฑ์และการแบ่งแยกแรงงาน
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
(Frederick W.Teylor) โฟกัสที่ "one best way " หรือวิธีการที่ดีที่สุด
การศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหว (Time and Motion Study)
วิธีที่ดีที่สุดวิธีเดียว (one best way)
ทฤษฎีหลักการบริหาร
โฟกัสที่องค์การทั้งหมด
หลักการจัดการ 14 ประการ ของ Henri Fayol
POCCC ของ Henri Fayol
Planning การวางแผน
Organizing การจัดองค์การ
Commanding การสั่งการ
Coordinating การประสานงาน
Controlling การควบคุม
POSDCoRB ของ Gulick&Urwick
Planning การวางแผน
Organizing การจัดองค์การ
Staffing การบริหารงานบุคคล
Directing การสั่งการ
Coordinating การประสานงาน
Reporting การรายงานผล
Budgeting การงบประมาณ
ทฤษฏีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคท้าทาย
ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์
แนวคิดแรก ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม
แนวคิดที่สอง ศึกษาเกี่ยวกับการจูงใจและความพอใจของคนงาน
การบริหาร
การออกแบบงาน(ยุคคลาสสิค)
เน้นเหตุและผล
มองคนเป็นเครื่องจักร
การสร้างแรงจูงใจ(ยุคท้าทาย)
เน้นความพึงพอใจ
มองคนเป็นคน
พฤติกรรมองค์การ
เป็าหมายแรกคือการพยายามทำความเข้าใจว่าทำไมบุคคลในองค์กรจึงรู้สึกและสร้างพฤติกรรมต่างๆขึ้นมาและมุ่งไปสู่ระดับการทำนายพฤตกรรมและเหตุการณ์ต่างๆในองค์กรเพื่อรับกับสิ่งที่จะเกิดขึ้น
ศาสตร์การบริหาร
Chester Bernaed
องค์การเป็นระบบของการร่วแรงร่วมใจ ผู้บริหารต้องสร้างความสมดุลระหว่างการหามูลเหตุจูงใจกับความเต็มใจทำงานโดยอาศัยระบบสื่อสารที่ดีและทั่วถึง
องค์การแบบไม่เป็นทางการ
Herbert A. Simon
ทฤษฎีการบริหารพยายามมีเหตุผลที่สุดขณะที่มนุษย์มีข้อจำกัดบางอย่าง(ข้อมูล)
การตัดสินใจจึงเป็นหัวใจของรัฐประศาสนศาสตร์แต่ต้องอาศัยสหวิชา
ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคสมัยใหม่
รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่
ยึดค่านิยม 4 ประการ
ใช้ปรากฏการณ์วิทยาในการหาความรู้
ปฏิเสธหลักปรัชญาแบบปฏิฐานนิยม
ค่านิยมใน New PA
Change
Relevance
Social Equity
Value
ทฤษฎีระบบ
ระบบองค์การอยู่ได้เพราะประกอบด้วยระบบย่อยที่แบ่งหน้าที่กันทำ(Katz & Kahn)
ระบบย่อยปรับตัว
วางแผนวิจัย
ระบบย่อยดูแลรักษา
ดูแลกำลังคน(HR)
ระบบย่อยสนับสนุน
จัดหาทรัพยากร
ระบบย่อยการผลิตและเทคนิค
แปลง inputs เป็น outputs
ระบบย่อยจัดการ
ประสานงานและควบคุมระบบย่อย
รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ
การนำเอาโครงสร้าง กระบวนการเเละพฤติกรรมของข้าราชการและหน่วยงานมา เทียบเคียงกันให้เห็นความแตกต่างหรือความคล้ายคลึงเพื่อที่จะปรับปรุงรัฐประศาสนศาสตร์ให้ดีขึ้น
การบริหารการพัฒนา(Development Administration)
การบริหารเพื่อการพัฒนา(A of D)
การนำเอาสมรรถนะที่มีอยู่ในระบบการบริหารมาลงมือปฏิบัติให้เกิดความ เปลี่ยนตามที่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้า
การบริหารการพัฒนา(D of A)
การจัดเตรียม เปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือปฏิรูปโครงสร้าง การบริหารให้มีสมรรถนะ
ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ร่วมสมัย
รัฐบาลผู้ประกอบการ(Reinventing Government)
Osborne และ Gaebler ได้กำหนด"บัญญัติ 10 ประการ"ขึ้นโดยระบุว่าการที่ภาครัฐจะประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการได้นั้น จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างและระบบรายงาน
การจัดการภาครัฐแนวใหม่(NPM : New Public Management)
New P.A. คือการสร้างบริการสาธารณะให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงมากขึ้้นทำให้ปัญหาหลายประการโดยเฉพาะความล่าช้าในระบบราชการ
การปฏิรูประบบราชการ
NPM
ธรรมาภิบาล(Governance)หรือวิธีการปกครองที่ดี
R.A.W Rhodes
เศรษฐศาสตร์การเมืองแนวใหม่
ระบบการควบคุมทางสังคม
การพึ่งพากันในระดับนานาชาติ
เครือข่าย
การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
บรรษัทภิบาล
การบริการสาธารณะแนวใหม่(NPS:New Public Sercice)
บัญญัติ 7 ประการ ของ NPS
การคิดอย่างมียุทธศาสตร์ ปฏิบัติอย่างประชาธิปไตย
การตะหนักว่าความรับผิดชอบไม่ใช่ของง่ายๆ
การให้คุณค่ากับความเป็นพลเมืองเหนือกว่าความเป็นผู้ประกอบการ
การให้บริการแทนที่จะถือหางเสือ
การคำนึงผลประโยชน์ส่วนรวม
การให้คุณค่ากับคนไมใช่ผลิตภาพ
การให้บริการแก่พลเมือง ไม่ใช่ลูกค้า
แนวคิดนี้สร้างจากหลักพลเมืองประชาธิปไตยชุมชนและประชาสังคมและทฤษฏีองค์การ