Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด ทฤษฎี และหลักการสื่อสาร (วัตถุประสงค์ (สร้างความสัมพันธ์ทางสังคม,…
แนวคิด ทฤษฎี และหลักการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
จอร์จ เกิรบเนอร์
เป็นการแสดงกิริยาสัมพันธ์ทางสังคมโดยใช้สัญลักษณ์และระบบสื่อสาร
วิลเบอร์ ชแรมส์
เป็นการมีความเข้าใจร่วมกันต่อเครื่องหมายที่แสดงข่าวสาร
จอร์จ เอ มิลเลอร์
เป็นการถ่ายทอดข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
สรุป
การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากบุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้ส่งสารไปยังบุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้รับสารโดยผ่านช่องทางในการสื่อสาร
องค์ประกอบที่สำคัญ
สาร(message)
ช่องทาง(channel)
ผู้ส่งสาร (sender)
ตัวผู้รับสาร(reciever)
วัตถุประสงค์
สร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
ทำให้เกิดการแสดงออก
ทำให้ทราบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ทำให้เกิดการพักผ่อนย่อนใจ
ทำให้ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว
ทำให้เกิดการเรียนรู้
ทำให้เกิดกำลังใจ
แบบจำลองการสื่อสาร
C.Shannon และ W.Weaver
การสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรง
H.D. Lasswell
Two Way Communication
C.E. Osgood และ W.Schramm
การเข้ารหัส
การที่ให้ผู้ส่งสารแปลสารให้เป็นภาษาหรือรหัสอืนๆที่เหมาะแก่วิธีการถ่ายทอด
การถอดรหัส
การที่ผู้รับสารแปลรหัสหรือภาษากลับเป็นสาร
การตีสาร
การที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารสามารถที่จะตีสารที่ตนได้รับไปในทางที่อีกฝ่ายหนึ่งประสงค์
David K. Berlo
ผู้ส่งสาร
ทักษะในการสื่อสาร
ทัศนคติ
ความรู้
ระบบสังคม
วัฒนธรรม
สาร
ส่วนประกอบ
โครงสร้าง
การจัดสาร
เนื้อหา
รหัส
ช่องทาง
การเห็น
การได้ยิน
การสัมผัส
การได้กลิ่น
การลิ้มรส
ผู้รับสาร
ทักษะในการสื่อสาร
ทัศนคติ
ความรู้
ระบบสังคม
วัฒนธรรม
ABX ของ T.M. Newcomb
A,B
คนสองคน
x
เหตุการณ์ วัตถุ สิ่งของ หรื่ออื่นๆ
การแลกเปลี่ยนข้อมูล ความเห็น ทัศนคติ