Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รัฐประศาสนศาสตร์ (ความเข้าใจเบื้องต้น เกี่ยวกับประศาสนศาสตร์ :black_flag:,…
รัฐประศาสนศาสตร์
ความเข้าใจเบื้องต้น เกี่ยวกับประศาสนศาสตร์ :black_flag:
ความหมาย :no_entry:
ความหมายทางการเมือง/รัฐสาสตร์
ความหมายทางกฏหมาย
ความหมายทางการบริหารจัดการ
ความหมายทางการประกอบอาชีพ
จุดกำเนิด :no_entry:
Woodrow Willson
แยกการเมืองออกจากการบริหาร
เขียนบทความ The Study of Administration
Political Administration
Political - กำหนดนโยบาย
Administration - นำนโยบายไปปฏิบัติ
คุณลักษณะ :no_entry:
แตกต่างกับภาคเอกชน
เวลา
การควบคุม
การวัดผล
ความเสมอภาค
การตรวจสอบภายนอก
บทบาท
การจูงใจ
เป้าหมาย
สถานภาพ :no_entry:
ศาสตร์
หลักการทฤษฎีชัดเจน/แน่นอน
ศิลป์
การปฏิบัติที่ยืดหยุ่น
ขอบข่ายการศึกษา :no_entry:
Public
Sector
Goods
Interest
Organization
Management
Paradigm
การบริหารแยกจากการเมือง
หลักการบริหาร
รัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบของรัฐศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบของศาสตร์บริหาร
รัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบรัฐประศาสนศาสตร์
พัฒนาการของการศึกษา :no_entry:
Classic
Paradigm1
Paradigm2
Modern
Paradigm5
Paradigm6
Neo-Classic
Paradigm3
Paradigm4
ระบบราชการ :black_flag:
ความหมาย :no_entry:
การบริหารงานของภาครัฐ
กลุ่มข้าราชการ
การบริหารงานแบบเอกาธิปไตย
การจัดองค์การแบบมีเหตุผล
ความไม่มีประสิทธิภาพขององค์การ
องค์การสมัยใหม่
สังคมสมัยใหม่
ประเภท :no_entry:
แบบผู้อารักขา
แบบชนชั้นวรรณะ
แบบอุปถัมภ์
แบบคุณธรรม
วิวัฒนาการ :no_entry:
Prehistory
Ancient History
Middle Ages
Modern Age
แนวคิด :no_entry:
แบบเป็นกลาง
Anthony Downs
มองในแง่ลบ
วัฎจักรของความชั่วร้ายของกฎระเบียบ
Vicous circle of rules
กฎเหล็กคณาธิปไตย์
Iron law of oligarchy
การเบี่ยงเบนเป้าหมาย
Goal Displacement
การจัดองค์แบบราชการ:no_entry:
รูปแบบอำนาจหน้าที่
การใช้อำนาจเฉพาะตัว
การใช้อำนาจแบบประเพณีนิยม
การใช้อำนาจตามกฎหมาย
Bureaucracy Theory
แบ่งอำนาจ
ลำดับบังคับบัญชา
เอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร
ผู้บริหาญที่เชี่ยวชาญ
การทำงานตามกฎระเบียบ
ข้าราชการหรือพนักงานทุ่มเทเวลาให้เต็มที่
องค์การสาธารณะของไทย :black_flag:
บริการสาธารณะ :no_entry:
ทางปกครอง
ทางพาณิชยกรรมและอุตสหกรรม
ทางสังคมและวัฒนธรรม
รัฐวิสาหกิจ :no_entry:
รัฐวิสาหกิจทางการเงิน
รัฐวิสาหกิจทางอุตสหกรรม
รัฐวิสาหกิจทางด่านพาณิชยกรรม
ส่วนราชการ :no_entry:
ราชการบริหารส่วนกลาง
ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
ส่วนเอกชน :no_entry:
ภารกิจต้องไม่ซ้ำซ้อนกับ
ไม่มีจุดประสงค์แสวงหากำไร
เป็นนิติบุคคล
รับผิดชอบและให้บริการสาธารณะทางพาณิชยกรรมและอุตสหกรรม
ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคสมัยใหม่ : :black_flag:
การบริหารการพัฒนา :no_entry:
D of A - การเปลี่ยนแปลงปรับปรุงและพัฒนา
A of D - การบริหารปฏิบัติกิจกรรมเพื่อการพัฒนา
รปศ.เปรียบเทียบ :no_entry:
การเปรียบเทียบระบบบริหาร
ประวัติศาสตร์การบริหาร
ตัวบทกฎหมาย
สถาบันการบริหารและการปกครอง
การศึกษาของกลุ่มบริหารเปรียบเทียบ
ศึกษาระบบบริหารเพื่อสร้างตัวแบบและทฤษฎี
การศึกษารปศ.เปรียบเทียบแนว
ศึกษาปัญหาข้อเท็จจริงโดยมุ่งเน้นนำนโยบายไปปฏิบัติ
ทฤษฎีระบบ :no_entry:
แนวคิด
Input
Process
Output
Feedback
ระบบองค์การ
ระบบย่อยจัดการ
ระบบย่อยการผลิตและเทคนิค
ระบบสนับสนุน
ระบบย่อยดูแลรักษา
ระบบปรับตัว
รปศ.ในความหมายใหม่ :no_entry:
การประชุมของนักวิชาการรุ่นใหม่ จัดครั้งแรกปี1968 ณ หอประชุม Minnowbrook, Syracuse University
ปฎิเสธหลักปรัชญาแบบปฏิฐานนิยม
ค่านิยม4ประการ
ใช้ปรากฎการณ์วิทยาในการหาความรู้
ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ร่วมสมัย :black_flag:
NPM :no_entry:
การปฏิรูปการบริหารจัดการ
NPS :no_entry:
บัญญัติ7ประการ
แนวคิดรากฐาน
ความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย
ตัวแบบชุมชนและประชาสังคม
Governance :no_entry:
ธรรมาภิบาล7ลักษณะ (R.A.W Rhodes)
Stepen P.Osborne
การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
บรรษัทภิบาล
ธรรมาภิบาลสารธารณะ
Reinventing Goverment :no_entry:
Osborn&Gaebler
บัญญัติ10ประการ ระบบปฎิรูประบบราชการ
ภาครัฐจะประสบความสำเร็จได้ต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างและระบบงาน
ทฤษฎีประศาสนศาสตร์ยุคท้าทาย :black_flag:
ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ :no_entry:
ทฤษฎีแรงจูงใจ (Frederick Herzberg)
ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตกับปัจจัยทางกายภาพในการทำงาน (Elton Mayo)
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ (Abraham Maslow)
พฤติกรรมองค์การ :no_entry:
ปัจเจกบุคคล
กลุ่ม-พลวัตรองค์การ
สภาพแวดล้อมภายใน
ศาสตร์การบริหาร :no_entry:
องค์การเป็นระบบของการร่วมแรงร่วมใจ (Chester Barnard)
หลักการตัดสินใจ การตัดสินใจเป็นหัวใจหลักของการบริหาร (Herbert A. Simon)
ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ยุคดั้งเดิม : :black_flag:
หลักการบริหาร :no_entry:
ทฤษฎีระบบราชการ :no_entry:
Max Waeber การทำงานอย่างมีกฎระเบียบ มีโครงสร้าง มีการแบ่งงานกันอย่างชัดเจน
การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ :no_entry:
Frederick W.Taylor
วิธีการที่ดีที่สุด The One Best Way
การจ่ายค่าจ้างเป็นรายชิ้น
การคัดเลือกคนให้เหมาะสมกับงาน
Henri Fayol หลักการบริหาร14ข้อ POCCC