Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 จริยธรรมและจรรณยาบรรณวิชาชีพ การพยาบาล (หลักจรรยาบรรณวิชาชีพ…
บทที่ 2 จริยธรรมและจรรณยาบรรณวิชาชีพ
การพยาบาล
หลักจริยธรรมในวิชาชีพ
การเคารพเอกสิทธิ์/อิสระ (Autonomy)
ความเป็นอิสระของผู้ป่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการรับการรักษาพยาบาลด้วยตัวเอง
การทำประโยชน์ (Beneficence)
การทำประโยชน์ ป้องกันอันตราย ส่งเสริมสิ่งที่ดี
การไม่ทำอันตราย (Nonmalficence)
การไม่ทำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ความยุติธรรม (Justice)
ผู้ป่วยมีความเท่าเทียมกันในการได้รับการรักษาพยาบาล
ความซื่อสัตย์ (Fidelity)
พันธะหน้าที่ที่จะต้องซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
การพูดความจริง/การบอกความจริง (Veracity/Truch-Telling)
การพูดความจริง ให้ข้อมูลที่เป็นจริงแก่ผู้รับบริการ
การบอกความจริงที่เป็นข่าวร้าย มีผลกระทบต่อความรู้สึกของผู้ป่วยและญาติ
การพิทักษ์สิทธิ์ (Advocacy)
การรักษา ปกป้อง หรือช่วยให้ผู้อื่นได้รับประโยชน์ เป็นผู้แทนในการตัดสินใจและลงมือกระทำเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย
การรักษาความลับของผู้ป่วย (Confidentiality)
การเปิดเผยข้อมูลของผู้รับบริการต่อบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับจริยธรรมและวิชาชีพ
จริยธรรม เป็นแนวคิดเชิงปรัชญา ที่ทำการศึกษาวิเคราะห์ ค่านิยมการกระทำและทางเลือก เพื่อการพิจารณาว่าถูกและผิด
กฎหมาย ได้กำหนดโดยผู้มรอำนาจหน้าที่ตราเป็นข้อบัญญัติที่ใช้บังคับในสถานการณ์ที่กำหนด
จรรยาบรรณวิชาชีพ คือคำประกาศว่าด้วยหน้าที่ที่พึงกระทำ และความรับผิดชอบโดยสังเขปของผู้ประกอบวิชาชีพ เพื่อเป็นการกระตุ้นเตือนมโนธรรมและความรับผิดชอบของผู้ประกอบวิชาชีพอย่างเป็นอิสระและเพื่อประกาศให้สังคมรับรู้จุดมุ่งหมายของวิชาชีพได้
หลักจรรยาบรรณวิชาชีพ
พยาบาลรับผิดชอบต่อประชาชนผู้ต้องการการพยาบาลและบริการสุขภาพ
พยาบาลประกอบวิชาชีพด้วยความเมตตา กรุณา เคารพในคุณค่าของชีวิต ความมีสุขภาพดีและความผาสุกของเพื่อนมนุษย์
พยาบาลมีปฏิสัมพันธ์ทางวิชาชีพกับผู้ใช้บริการ ผู้ร่วมงาน และประชาชนด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีและสิทธิมนุษยชนของบุคคล
พยาบาลยึดหลักความยุติธรรม และความเสมอภาคในสังคมมนุษย์
พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศ
พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการ
พยาบาลรับผิดชอบในการปฏิบัติให้สังคมเกิดความเชื่อถือ ไว้วางใจต่อพยาบาลและต่อวิชาชีพการพยาบาล
พยาบาลพึงร่วมในการทำความเจริญก้าวหน้าให้แก่วิชาชีพการพยาบาล
พยาบาลพึงรับผิดชอบต่อตนเองเช่นเดียวกับรับผิดชอบต่อผู้อื่น
สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาจริยธรรม
ไม่รักและไม่เห็นคุณค่าวิชาชีพ
ถูกบังคับมาเรียน
พื้นฐานทางครอบครัว การเรียนการสอน
ค่านิยมปัจจุบันเน้นวัตถุและเทคโนโลยีมาก
ระบบงานไม่เหมาะสม
ขาดแบบอย่างไม่มีการกำกับดูแล
ขาดขวัญและกำลังใจ
บรรยากาศไม่เอื้ออำนวย
ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาจริยธรรม
ด้านตัวผู้ป่วย
อคติและความคาดหวังต่อการให้บริการของพยาบาล
ปัจจัยทางสังคม
ทัศนคติและความคาดหวังต่อการบริการทางแพทย์การพยาบาล
ด้านตัวพยาบาล
ขาดความรับผิดชอบ ละเลย ขาดจรรยาบรรณ ให้การพยาบาลไม่มีคุณภาพ ความรู้ไม่พอ ไม่รักวิชาชีพ
หน่วยงาน
ระบบการบริหารงานไม่เอื้อต่อการทำงาน ผู้ปฏิบัติขาดขวัญ กำลังใจ ไม่เป็นธรรม งานหนัก
ทัศนคติของบุคคลากรด้านอื่นที่มีต่อพยาบาล
การตัดสินใจทางจริยธรรม
ดำเนินการตัดสินใจอย่างจริงจัง
เพิกเฉยที่จะทำการตัดสินใจ
ดำเนินการตัดสินตามรูปแบบที่กำหนด
ไม่มีรูปแบบตัดสินที่แน่นอน
ปัญหาจริยธรรม
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพยาบาล
ภาพลักษณ์ ที่ท่าและพฤติกรรมที่พยาบาลปฏิบัติต่อผู้ป่วย
การรักษาความลับผู้ป่วย
การบอกความจริงแก่ผู้ป่วย
การยินยอมรับการรักษาพยาบาลโดยได้รับข้อมูลและการบังคับ
ปัญหาจริยธรรมเกี่ยวกับชีวิตและความตาย
เมตตามรณะหรือการตายอย่างสงบ
การทำแท้ง
ทารกพิการรุนแรงแต่กำเนิด
ความตายและศักดิ์ศรีของมนุษย์
การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
การผสมในหลอดแก้วแล้วปลูกถ่ายในมดลูก
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวกับกฎเกณฑ์ทางสังคม
สิทธิการรับบริการด้านสุขภาพ
การจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ที่จำเป็นและการซื้อขาย