Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Career in Finance (เส้นทางและการเตรียมพร้อม (CFA (อัตราการสอบผ่าน (Level 1…
Career in Finance
เส้นทางและการเตรียมพร้อม
MBA
Corporate finance
Credit Analyst
PB ผู้จัดการ Bank
RM wealth
IC license
ช่วยเส้นทางฝั่ง Bank มากกว่า
IP license
ต้องผ่าน CFP 2 module และ Derivative license
เพิ่มโอกาสงานฝั่ง Wealth ได้เยอะมาก
CFA
Golden passport
ถ้าไม่อยากเรียนโท เพราะคิดว่ามันแพง และมีเวลา self study เองได้
แต่ละ level มี 6 เล่ม
ค่าสอบ 36k/22k/22k
อัตราการสอบผ่าน
Level 1 = 42%
Level 2 = 46%
Level 3 = 50%
สรุปแล้ว 1 ใน 10
ยังไงก็ต้องมีความรู้รอบตัว การศึกษาหุ้น การจัดพอร์ตของตัวเอง
ดีกว่า CISA ไหม :ดีกว่าแน่นอนในแง่การลงแรง ลงเวลา
รวมแล้ว 2ปีครึ่ง ควรจะสอบผ่านทั้งหมด
ข้อสอบยากกว่า CFP ประมาณ 3-5 เท่าตัว
ต้องมีความสามารถในการสื่อสารพอสมควร
CFP
ต้อง take course ครั้งละ 90k รวม 6 ครั้ง
สอบข้อเขียน 4 ครั้ง
สอบปฏิบัติ 1 ครั้ง
ช่วยให้เข้าสู่สายงาน Front ได้ง่ายขึ้น
ถ้าอายุ 30 ขึั้นไปแล้วจะเปลี่ยนงาน ต้องมีของจริงๆ มี Certified หรือมี ปสก การลงทุนด้วยตัวเอง
วิทยากรด้านการเงิน
ต้องสอนคนที่อายุมากกว่า ปสก มากกว่า
สอบ Certified ให้ได้สักอย่างนึง
ต้องเป็นที่รู้จักบ้าง
เส้นทางอาชีพ
Corporate finance การเงินของธุรกิจ
เนื้องานขึ้นกับ scale ของบริษัท
งานของบริษัทเล็กจะใกล้เคียงกับงานแผนกบัญชี
บริษัทใหญ่ได้ทำงานหลากหลาย
Manage day-to-day activities
บริหาร cash cycle
การจัดหาเงินในการขยายกิจการ
ระดมทุน จัดหาเงินกู้
การเพิ่มทุน เช่น หุ้นเพิ่มทุน
ทำงานร่วมกับ Investment banker
สูงสุดอาจได้เป็น CFO หรือถึง CEO
ไม่ค่อยเกี่ยวข้องกับภาวะตลาดหุ้น
Investor relation นักลงทุนสัมพันธ์
สื่อสารและตอบคำถามนักลงทุน
แม่นกฎ กลต ต้องเปิดเผยอะไรบ้าง
มีความรู้บัญชี ตอบปัญหานักลงทุนได้
สายงานด้านการลงทุน
ฺBack side
หนังสือ สุดยอดนักบริหารเงินมืออาชีพ
คิดวิเคราห์ Deal กับข้อมูลจำนวนมาก เพื่อนำมาตัดสินใจ
Credit analyst นักวิเคราะห์สินเชื่อ
รับคนต่างสายงานได้ แต่ต้องมี ป.โท
มีความเกี่ยวข้องกับ SME หรือธุรกิจมากกว่า
พิจารณาการปล่อยกู้
มองงบการเงินเป็น แยกแยะของจริงของปลอมได้
ต้องลงพื้นที่เพื่อดูธุรกิจจริง
อาจต้องเจอเรื่องเทาๆ ด้วย
Risk manager/Risk management officer
เป็นผู้คุมกฎ
บริหารนโยบายให้กิจการเดินหน้าไปได้
Market risk บริหารบริษัทประกันหรือธนาคารไม่ให้ขาดทุน
Credit risk บริหารความเสี่ยงในการลงทุนของกิจการ
มีระเบียบ ชอบการกำกับดูแล
พร้อมปะทะกับคนอื่นได้เสมอ
ต้องมีความรู้ด้านการเงิน Relationship ของตลาด เพื่อให้รู้ทันการตัดสินใจของคนอื่นด้วย เพื่อป้องกันความเสี่ยง
FRM Certificate
นักวิเคราะห์หลักทรัพย์
Sell side analyst
ให้ข้อมูลกับนักลงทุน/ลูกค้า
่เช่น คุณกวี
จุดสูงสุด เป็น Strategist รวบรวมข้อมูลจากนักวิเคราะห์หลายๆทีม
อาจมีเรื่องผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่นต้องเชียร์หุ้นบางตัว อาจส่งผลกับงาน
ช่วงเริ่มๆ จะได้ทำงานกับ Paper และคุยกับ Marketing ในวงแคบๆก่อน
Buy side analyst
เป็นลูกมือ Support Fund manager
วิเคราะห์ ตัดสินใจแบบเป็นกลางได้ ไม่ต้องแคร์สื่อ
ไม่ต้องคุยกับสื่อ ไม่ต้องทำ paper
ชอบติดตามข่าวสารอย่างจริงจังและต้องรู้ก่อนคนอื่น
Fund manager
บริหาร port ขนาดใหญ่
ต้องยอมรับขาดทุนในจำนวนมากๆได้
มักต้องเจอลูกค้ารายใหญ่ ที่มีอำนาจมากๆ
Investment banker
ดูแลเรื่องการจัดการลงทุนของบริษัทใหญ่ๆ
จัด Roadshow คุยกับนักลงทุนต่างประเทศ
ต้องเก่งการคิดวิเคราะห์มากๆ คิดย้อนรอยได้ Reverse engineer
คิด Model ที่น่าลงทุนมากได้ ต้องคิดสร้างสรรค์จากฐานข้อมูลที่มากพอได้
กลต.
ส่งเสริมและปกป้องนักลงทุน
Front side
สายขายของฝั่ง Bank (Personal banker)
ขายสินค้าทุกอย่างที่ธนาคารขายได้
เงินเดือนน้อย แต่ค่าคอมเยอะ
IC license
Wealth management
ดูแลลูกค้าบุคคลรายใหญ่
ต้องชนะใจลูกค้าที่มีความรู้เยอะ
เกรดดี โปรไฟล์ดี หน้าตา บุคลิกภาพดี
ช่วยลูกค้าจัดพอร์ตการลงทุน
มีโอกาสได้เจอลูกค้าระดับสูงมาก Connection ที่หาไม่ได้ทั่วไป
Marketing หุ้น
เน้นพาลูกค้า Trade มากๆ หวังค่าคอม
ถ้าเก่งการ trade ระยะสั้น ก็อยู่ได้สบาย เพราะได้ค่าคอมเยอะมาก
จะอยู่ได้ ต้อง trade และลูกค้าได้กำไรนะ
นักขายกองทุนของ บลจ.
ควรเลือก model ที่ขายกองทุนได้หลายเจ้า ถ้าขายได้น้อยเจ้า จะแข่งขันลำบาก
มีเป้าขั้นต่ำที่ต้องทำให้ได้ เพื่อให้อยู่รอดได้
IC/IA
ย่อยข้อมูลเชิงลึกให้เข้าใจง่ายขึ้น และส่งต่อให้ทีมขาย
อาจต้องไปกับทีมขายด้วย เพื่อ Support ข้อมูลเชิงลึก
ได้ relationship กับลูกค้าด้วย แต่ไม่ต้องเน้นขาย
ให้ความรู้ผู้จัดการ bank
Independent financial advisor