Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (ลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง…
การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
เป็นวิธีการประเมินที่ออกแบบมาเพื่อสะท้อนให้เห็นพฤติกรรมและทักษะที่จ าเป็นของนักเรียนใน
สถานการณ์ที่เป็นจริงแห่งโลกปัจจุบัน (Real World Situations)
เป็นวิธีการประเมินที่เน้นงานที่นักเรียนแสดงออกในภาคปฏิบัติ (Performance) เน้นกระบวนการ
เรียนรู้ (Process) ผลผลิต (Products) และแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)
เป็นการประเมินการปฏิบัติงานในสภาพจริง
วิธีการประเมินตามสภาพจริงจะเปิด
โอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลและมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของตนเองด้วย
ต้องคำนึงถึงเสมอว่า หลักสูตร
(Curriculum) การเรียนการสอน (Instruction) และการประเมินผล (Assessment) จะต้องไปด้วยกัน
เป็นการประเมินที่ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลายวิธี ตลอดช่วงระยะเวลาหนึ่งเพื่อจะ
ตรวจสอบคุณภาพงานของนักเรียน
การประเมินผลการเรียนการสอนตามสภาพจริงจะใช้เครื่องมือหลากหลายในการวัดการ
ปฏิบัติวันต่อวัน
ไม่เน้นประเมินผลเฉพาะทักษะพื้นฐานแต่ให้ผู้เรียน
ผลิต สร้าง หรือท าบางอย่างที่เน้นทักษะการคิดที่ซับซ้อน
เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน ต้องเป็นเกณฑ์ประเมิน “แก่นแท้” (essentials) ของการปฏิบัติมากกว่า
เป็นเกณฑ์มาตรฐานที่สร้างขึ้นจากผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะ
การประเมินตนเอง (Self-Assessment) การประเมินตนเองมีความสำคัญมากต่อการปฏิบัติ
ภารกิจจริง (Authentic Task)
การนำเสนอผลงานเป็นคุณลักษณะประการหนึ่งของการประเมินผล
วิธีการและเครื่องมือการประเมินตามสภาพจริง
แบบทดสอบวัดความสามารถที่เป็นจริง (Authentic test)
บันทึกจากผู้เกี่ยวข้อง
แบบสอบถาม
การสัมภาษณ์
การสังเกต
การรายงานตนเอง
การสร้างจินตภาพ
การใช้แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
หล ักการประเมินตามสภาพจริง
การประเมินและตัดสินผลการเรียนไม่ควรใช้ข้อมูลจากผลการสอบด้วยแบบทดสอบเพียงอย่างเดียว
การประเมินในชั้นเรียนควรกระท าอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ข้อมูลระยะยาวในการใช้เป็นหลักฐานการ
พัฒนาและความก้าวหน้าของผู้เรียน
การประเมินผลควรอาศัยข้อมูลจากการปฏิบัติภาระงานที่มีความหมาย สอดคล้องกับสภาพจริง
(Authentic tasks) และสอดคล้องกับหลักสูตรและการเรียน การสอนในชั้นเรียน
การประเมินผลควรรวมถึงการวัดแรงจูงใจ เจตคติ และปฏิกิริยาทางจิตพิสัย (Affective reaction)
ของผู้เรียนต่อหลักสูตรและการเรียนการสอน
การประเมินควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถที่แท้จริงออกมา และสะท้อนให้เห็นถึง
แรงจูงใจและความตั้งใจในการเรียนรู้
การประเมินผลควรครอบคลุมถึงตัวอย่างผลงาน(Exhibits) แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) และการ
ปฏิบัติจริง นอกเหนือไปจากการทดสอบแบบ Paper-and-pencil
จุดหมายเบื้องต้นของการประเมินผู้เรียนคือ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผลการประเมินควรให้ข้อมูลป้อนกลับที่ชัดเจน เข้าใจง่าย และเป็นปัจจุบันแก่ผู้เกี่ยวข้องในระดับ
ต่าง ๆ
การประเมินไม่ควรถือความถูก-ผิด ของค าตอบอย่างเคร่งครัดและคับแคบ แต่ควรพิจารณาถึง
คำตอบที่เป็นไปได้และสมเหตุสมผล
การประเมินควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่งความรู้และความเข้าใจอย่างสร้างสรรค์ และ
ไม่ควรจ ากัดเพียงแค่โจทย์ปัญหาและค าตอบที่ได้เตรียมไว้ล่วงหน้า
การกำหนดเกณฑ์การประเมินตามสภาพจริง
ลักษณะของรูบริคส์ (rubrics)
1.1 รูบริคส์เป็นเครื่องมือที่ใช้ได้กับการสอนและการประเมินผล โดยสามารถใช้รูบริคส์ พัฒนา/
ปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้เรียนได้และช่วยให้ผู้สอนสามารถตั้งความคาดหวังกับการปฏิบัติงานของผู้เรียนได้
อย่างชัดเจน
1.2 รูบริคส์เป็นเครื่องมือช่วยเหลือผู้เรียนให้สามารถตัดสินคุณภาพชิ้นงานอย่างมีเหตุผลทั้งงานของ
ตนเองและผู้อื่น
1.3 รูบริคส์เป็นเครื่องมือช่วยลดจ านวนเวลาที่ครูใช้ในการประเมินผลงานของผู้เรียน
1.4 รูบริคส์มีลักษณะยืดหยุ่นที่สามารถท าให้ครูสอนผู้เรียนที่มีความหลากหลายแตกต่างกันไปได้อย่างดี
1.5 รูบริคส์ใช้ได้ง่ายและอธิบายได้ง่าย
จุดประสงค์ของการสร้างรูบริคส
2.1 เพื่อประเมินกระบวนการ (process
2.2 เพื่อประเมินผลผลิต (product)
2.3 เพื่อประเมินการปฏิบัติ(performance)
ขั้นตอนการสร้างรูบริคส
ขั้นที่ 1 ศึกษาตัวอย่างชิ้นงาน
ขั้นที่ 1 ศึกษาตัวอย่างชิ้นงาน
ขั้นที่ 3 ระบุระดับของคุณภาพ
ขั้นที่ 4 ฝึกใช้เกณฑ์
ขั้นที่ 5 ประเมินตนเองและเพื่อน
ขั้นที่ 6 แก้ไข ปรับปรุง
ขั้นที่ 7 ประเมินผลงาน
ตัวอย่างของรูบริคส์
รูบริคส์ ก าหนดได้หลายระดับ ที่นิยมจะก าหนดตั้งแต่ 3-5 ระดับ ขึ้นอยู่กับ
ระดับชั้นของผู้เรียนที่ต้องการน าไปใช
การใช้รูบริคส์